70 likes | 214 Views
CQI : การเฝ้าระวังและติดตามการเกิดเชื้อ ไวรัสเอช ไอวี ดื้อยาต้าน ไวรัส เอดส์โดยใช้ Early warning Sign. โดย นางธนิดา ตั้งยิ่งยง, นางสุมาลัย คมใส, น.ส.นิตยา ดาววงศ์ญาติ, พญวิริยา เชื้อลี, กลุ่มงานอายุรกรรม โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ อุบลราชธานี. การดำเนินการ(1).
E N D
CQI : การเฝ้าระวังและติดตามการเกิดเชื้อไวรัสเอชไอวี ดื้อยาต้านไวรัสเอดส์โดยใช้Early warning Sign โดย นางธนิดา ตั้งยิ่งยง, นางสุมาลัย คมใส, น.ส.นิตยา ดาววงศ์ญาติ, พญวิริยา เชื้อลี, กลุ่มงานอายุรกรรม โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ อุบลราชธานี
การดำเนินการ(1) • กำหนดผู้ติดเชื้อHIV/AIDS เป็นผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงสูงและการรักษาด้วยยาต้านไวรัส เป็นบริการที่มีความเสี่ยงสูง • ติดตามเฝ้าระวังผู้ติดเชื้อHIV/AIDS ที่รักษาด้วยยาต้านไวรัสรายใหม่และรายเก่า ในปี2552-2555 ทุกราย • กำหนดEarly Warning Sign ในการติดตามเฝ้าระวังเชื้อไวรัสเอชไอวีดื้อยาต้านไวรัสในผู้ติดเชื้อHIV/AIDSที่รับยาต้านไวรัสรายใหม่ในคลินิกดังนี้ • มีน้ำหนักตัวลดลง 10 กิโลกรัม • การเจ็บป่วยยังต้องมาพบแพทย์สม่ำเสมอเช่นเดียวกับก่อนรับยาต้านไวรัส • CD4ลดลงกว่าเดิม และหลังรับประทานยาต้านไวรัสไปแล้ว 6 เดือน CD4ไม่เพิ่มขึ้น คือ CD4 ลดลง30%(บ่งบอกถึงการรักษาที่ล้มเหลว) • ผลการตรวจปริมาณเชื้อไวรัส(Virus load)หลังรับประทานยาต้านไวรัส ไปแล้ว 6 เดือน มีค่า>40Copies/ml • มีการเจ็บป่วยเป็นมะเร็งและเป็นโรคทางเพศสัมพันธ์ เช่น ซิฟฟิลิส หนองใน ขณะรับยา
การดำเนินการ(2) • มีเพศสัมพันธ์โดยไม่มีการสวมถุงยางอนามัย • Drug Adherence80% • ขาดนัดนานกว่า 2 เดือน หรือมาตามนัดไม่สม่ำเสมอ • มีการเปลี่ยนสูตรยาที่ไม่ใช่สูตรพื้นฐานในปีแรกที่รับยา
การดำเนินการ(3) • จัดทำ Program การป้องกันการเกิดเชื้อไวรัสเอชไอวีดื้อยาต้านไวรัสเอดส์ 4.1Adherence counseling โดยเภสัชกรประจำคลินิก • หลีกเลี่ยงการขาดยา หรือข้ามยา(Skipping) Drug • การรับประทานยาตรงตามเวลาที่แพทย์สั่ง • การรับประทานยากับลักษณะอาหารที่เหมาะสม 4.2 ให้การปรึกษาเรื่องการรับประทานยาต้านไวรัส ร่วมกับยาวิตามิน และอาหารเสริมชนิดอื่นๆ เพื่อป้องกันDrug to Drug interaction โดยเภสัชกร 4.3ให้การปรึกษาและให้ความรู้เรื่อง Safe Sex เพื่อป้องกัน “Super infection” 4.4ลงทะเบียนติดตามผู้ป่วยทุกนัดอย่างเป็นปัจจุบันเพื่อให้การบริหารยาต้านไวรัสคล่องตัวไม่เกิดการขาดยา(Out to Stock) โดย HIV Coordinator 4.5 การให้ความรู้ในการดูแลตนเองแก่ผู้ติดเชื้อHIV/AIDSโดยผ่านกระบวนการเรียนรู้โรคโดยตรง(HIV/AIDS Treatment Literacy)
การดำเนินการ(4) • การเฝ้าระวังความปลอดภัยจากการใช้ยาต้านไวรัสโดยใช้Lab Trigger tool
การดำเนินการ(5) • พัฒนาคลินิกยาต้านไวรัสด้วย Lean Health care โดยการมีส่วนร่วมของ ผู้ติดเชื้อHIV/AIDS ห้องบัตร ห้องแล็ป กลุ่มงานเภสัชกรรม เพื่อลดระยะเวลาในการให้บริการด้วยยาต้านไวรัสและขั้นตอน การเข้าถึงระบบบริการลดการขาดนัด สามารถลดขั้นตอนจาก 11 เหลือ 6 ขั้นตอน • Monitor Lab CD4 & VL ในการประเมินการรักษาที่ล้มเหลวทุก 6 เดือน และประเมินการเกิดOIs และภาวะแทรกซ้อนทุก 3 เดือน • วัดและประเมินผลการดูแลรักษาทุกครั้งด้วย HIVQUAL –T Program และ Warning Indicator ปีละครั้งตามปีงบประมาณ