780 likes | 1.86k Views
การใช้วิทยุคมนาคม. โดย นายบุญเพ็ง ยอดบุญมา ศูนย์วิศวกรรมการแพทย์ที่ 2 ขอนแก่น. โทรสาร 0-4324-7045. มือถือ 08-1661-6220โทร 0-4324-3738-9 ต่อ 106 E-mail : hs4nq@hotmail.com. HS1A. ศูนย์วิศวกรรมการแพทย์ที่ ๒ (ขอนแก่น). ส่วนประกอบของการติดต่อสื่อสารทางวิทยุ.
E N D
การใช้วิทยุคมนาคม โดย นายบุญเพ็ง ยอดบุญมา ศูนย์วิศวกรรมการแพทย์ที่ 2 ขอนแก่น โทรสาร 0-4324-7045 มือถือ 08-1661-6220โทร 0-4324-3738-9 ต่อ 106 E-mail : hs4nq@hotmail.com
HS1A ศูนย์วิศวกรรมการแพทย์ที่ ๒ (ขอนแก่น)
ส่วนประกอบของการติดต่อสื่อสารทางวิทยุส่วนประกอบของการติดต่อสื่อสารทางวิทยุ • ส่วนที่ 1 เครื่องวิทยุคมนาคม • ส่วนที่ 2 สายอากาศ • ส่วนที่ 3 สายนำสัญญาณ • ส่วนที่ 4 เสาอากาศ
เครื่องวิทยุคมนาคม เครื่องวิทยุสำหรับหน่วยงานราชการ เครื่องวิทยุสำหรับประชาชน
คลื่นความถี่วิทยุ ย่านความถี่ความถี่ ความยาวคลื่น • VLF ต่ำกว่า30 Khz ยาวกว่า 10 Km • LF 30 - 300Khz 10 - 1 Km • MF 300 - 3000 Khz 1000 – 100 m • HF 3 – 30 Mhz 100 – 10 m • VHF 30 - 300 Mhz 10 – 1 m • UHF 300 - 3000 Mhz 100 – 10 cm • SHF 3 – 30 Ghz 10 – 1 cm • EHF 30 – 300 Ghz10 – 1 mm
กำลังส่งของเครื่องวิทยุคมนาคมระบบ VHF/FM • ชนิดมือถือ 5 วัตต์ • ชนิดติดรถยนต์ 30 วัตต์ 10 วัตต์ (อบต.) • ประจำที่ 60 วัตต์ 10 วัตต์ (อบต.)
ความถี่วิทยุกระทรวงสาธารณสุขทั่วประเทศความถี่วิทยุกระทรวงสาธารณสุขทั่วประเทศ • ช่องที่ 1 155.175 MHz อุดรธานี,สุรินทร์ • ช่องที่ 2 155.125 MHz หนองบัวลำภู,ยโสธร • ช่องที่ 3 153.875 MHz ร้อยเอ็ด,ชัยภูมิ • ช่องที่ 4 152.250 MHz ร้อยเอ็ด,ชัยภูมิ • ช่องที่ 5 154.975 MHz นครพนม,บุรีรัมย์ • ช่องที่ 6 155.375 MHz มุกดาหาร,บุรีรัมย์ • ช่องที่ 7 155.475 MHz ขอนแก่น,ศรีสะเกษ,สกลนคร • ช่องที่ 8 155.675 MHz ขอนแก่น,ศรีสะเกษ,สกลนคร • ช่องที่ 9 155.725 MHz หนองคาย,อุบลราชธานี,นครราชสีมา • ช่องที่ 10 155.775 MHz หนองคาย,อุบลราชธานี,นครราชสีมา,กาฬสินธุ์ • ช่องที่ 11 154.925 MHz มหาสารคาม
ความถี่วิทยุ อบต.ทั่วประเทศ 162.525 MHz ช่องเรียกขาน • ช่องที่ 1 162.150 MHz • ช่องที่ 2 162.175 MHz • ช่องที่ 3 162.225 MHz • ช่องที่ 4 162.475 MHz • ช่องที่ 5 162.575 MHz • ช่องที่ 6 162.650 MHz • ช่องที่ 7 162.775 MHz • ช่องที่ 8 162.825 MHz • ช่องที่ 9 162.975 MHz • 162.125 MHz ติดต่อกรมการปกครอง
เครื่องวิทยุคมนาคมที่นำมาใช้ในราชการเครื่องวิทยุคมนาคมที่นำมาใช้ในราชการ • iCOM • YAESU • KENWOOD • ALINCO • STANDARD • MOTOROLA
เครื่องวิทยุคมนาคมที่ใช้ในหน่วยงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น/เทศบาลเครื่องวิทยุคมนาคมที่ใช้ในหน่วยงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น/เทศบาล • เป็นเครื่องสังเคราะห์ความถี่ประเภท 2 ชนิดประจำที่ ยี่ห้อ ICOMรุ่น IC-F110
ปุ่มการใช้งานICOM รุ่น IC-F110 • P0 = ปุ่มปรับเพิ่ม/ลดกำลังส่ง High/Low • P1 = ปุ่ม Lock • P2 = ปุ่มเฝ้าฟัง Moni • P3 = ปุ่ม Scan
เครื่องวิทยุคมนาคมชนิดมือถือยี่ห้อ ICOM รุ่น IC-F3GS Call ch
ปุ่มการใช้งานICOM รุ่น ic-F3GS • P0 = ปุ่มปรับเพิ่ม/ลดกำลังส่ง High/Low • P1 = ปุ่ม Scan • P2 = ปุ่ม Lock • P3 = ปุ่ม Beep • ปุ่มสีส้ม = Call Ch
เครื่องวิทยุคมนาคมชนิดมือถือยี่ห้อ ICOM รุ่น IC-F11
เครื่องวิทยุคมนาคมชนิดมือถือยี่ห้อ ICOM รุ่น IC-F14
เครื่องวิทยุคมนาคมที่ใช้ในหน่วยงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น/เทศบาลเครื่องวิทยุคมนาคมที่ใช้ในหน่วยงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น/เทศบาล • เป็นเครื่องสังเคราะห์ความถี่ประเภท 2 ชนิดประจำที่ ยี่ห้อ ICOMรุ่น IC-F5023
เครื่องวิทยุคมนาคมชนิดมือถือยี่ห้อ ICOM รุ่น IC-G80
เครื่องวิทยุคมนาคมชนิดมือถือเครื่องจีนเครื่องวิทยุคมนาคมชนิดมือถือเครื่องจีน
สายอากาศวิทยุคมนาคม • แบบทิศทาง
สายอากาศวิทยุคมนาคม • แบบกึ่งรอบตัว
สายอากาศวิทยุคมนาคม • แบบรอบตัว
ฐานเสาอากาศติดรถยนต์ ติดด้านหลัง ติดบนหลังคา ติดกระโปรงหลัง ติดรางน้ำ
สายอากาศสำหรับวิทยุมือถือสายอากาศสำหรับวิทยุมือถือ สายอากาศแบบยาง สายอากาศแบบสไลด์
การเลือกซื้อสายอากาศวิทยุคมนาคมการเลือกซื้อสายอากาศวิทยุคมนาคม • จากสูตร • ตัวอย่าง v λ = f λ = ความยาวคลื่น v = ความเร็วคลื่น f = ความถี่ λ = 300 เมตร 162 MHz =1.85 เมตร
สายนำสัญญาณ • COAXIAL RG58A/U
สายนำสัญญาณ • COAXIAL RG8A/U
สายนำสัญญาณ • COAXIAL FORM 10D-FB
สายนำสัญญาณ • HELIAX FORM
เสาอากาศวิทยุคมนาคม • เสาอากาศชนิดกลม
เสาอากาศวิทยุคมนาคม • เสาอากาศชนิดสามเหลี่ยม
การติดตั้งเสาอากาศวิทยุคมนาคมการติดตั้งเสาอากาศวิทยุคมนาคม B C 120° A 120° 120° ระยะห่างระหว่าง จุดAถึง จุดB A =ฐานเสาอากาศ ระยะห่างระหว่าง จุดAถึง จุดC B =สมอบก D ระยะห่างระหว่าง จุดAถึง จุดD C =สมอบก D =สมอบก ความยาว =1ใน 3ความสูงของเสาอากาศ
การติดตั้งเสาอากาศวิทยุคมนาคมการติดตั้งเสาอากาศวิทยุคมนาคม 3 เสาท่อนที่ เสาท่อนที่ 2 เสาท่อนที่ 1 A = ฐานเสาอากาศ B = สมอบก A B
การตัดสลิงยึดเสาอากาศสามารถคำนวณได้จากทฤษฏีบทพีทาโกรัสการตัดสลิงยึดเสาอากาศสามารถคำนวณได้จากทฤษฏีบทพีทาโกรัส C²=A² + B² C B C = √A² + B² 6ม. C = √6² + 6² A 6ม. C = √36 + 36 C = √72 C =8.50เมตร ความยาวสลิงทั้งหมด =10.50เมตร (เพิ่มอีก2เมตร)
อุปกรณ์ประกอบสำหรับวิทยุคมนาคมชนิดมือถืออุปกรณ์ประกอบสำหรับวิทยุคมนาคมชนิดมือถือ ชนิดแบตเตอรี่ NI-CD NI-MH LI-ION
แท่นชาร์จแบตเตอรี่สำหรับวิทยุมือถือแท่นชาร์จแบตเตอรี่สำหรับวิทยุมือถือ
อุปกรณ์ป้องกันความเสียหายภายในแบตเตอรี่แพคอุปกรณ์ป้องกันความเสียหายภายในแบตเตอรี่แพค กล่องแบตเตอรี่ ไดโอด เทอร์โมสตัส
ขั้นตอนการใช้งานเครื่องวิทยุคมนาคมขั้นตอนการใช้งานเครื่องวิทยุคมนาคม 1.ตรวจเช็คสายอากาศว่าแน่นหรือไม่ ก่อนทำการส่งออกอากาศทุกครั้ง ให้ตรวจสายอากาศให้แน่ใจเสียก่อน 2.ตรวจเช็คแบตเตอรี่แพคว่าแน่นหรือไม่ 3.ตรวจสอบช่องความถี่ใช้งานว่าตรงหรือไม่ 4.ตรวจสอบปุ่ม vol ไว้ในตำแหน่งประมาณกึ่งกลาง 5.ตรวจสอบปุ่ม sql (เครื่องประเภท 1)ไปที่ตำแหน่งเสียงซู่ โดยการหมุนไปทางซ้ายมือ หรือทวนเข็มนาฬิกา จากนั้นแล้วหมุนกลับด้านขวามือ หรือตามเข็มนาฬิกา ให้หยุดที่ตำแหน่งเสียงซู่หายตำแหน่งแรก 6.จากนั้นก็สามารถกดคีย์พูดส่งออกอากาศได้เลย
ข้อควรระวังในการพูด ⇨ อย่ากดคีย์นานเกิน 30 วินาที ⇨ ให้พูดเป็นช่วงสั้นๆโดยให้ปากอยู่ห่างจากตัวเครื่องวิทยุคมนาคม ประมาณ 2 – 3 นิ้ว ⇨ ให้กดคีย์ก่อน 1 – 2 วินาที แล้วจึงพูด ⇨ พูดให้จบประโยคเสียก่อน จึงค่อยปล่อยคีย์
ปุ่ม และ Function ต่างๆของเครื่องวิทยุคมนาคมประเภท 1 ชนิดมือถือ VFO = ใช้ในการปรับตั้งความถี่ตามปกติทั่วไปภายในขอบเขตของความถี่ที่กำหนดไว้ เช่นความถี่ 136 – 174 MHz MR = ใช้ในการบันทึกความถี่ลงในช่องความจำซึ่งมีทั้งหมด ประมาณ 50 ช่อง , 100 ช่อง SET = เป็นหมวดที่ใช้สำหรับปรับแต่งฟังก์ชั่นพิเศษ ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการใช้งาน ตามความจำเป็นในด้านต่างๆ CALL = เป็นช่องความจำที่ใช้บ่อยๆหรือความถี่ฉุกเฉิน
ปุ่ม และFunction ที่มีผลต่อภาครับของเครื่องวิทยุคมนาคมประเภท 1 • SQL = ให้หมุนปุ่ม SQL ไปทางด้านซ้ายมือ สังเกตจะมีเสียงซู่ออกทาง ลำโพง แล้วหมุนกลับด้านขวามือให้หยุดที่ตำแหน่งเสียงซู่หาย ตำแหน่งแรก หรือในกรณีที่รับ - สัญญาณจากลูกข่าย หรือสถานีอื่นที่อยู่ระหว่างระยะทางไกลๆให้ หมุน ปุ่ม SQL ไปทางด้านซ้ายมือให้มีเสียงซู่ ก็จะสามารถรับ สัญญาณได้ ถ้าในกรณีที่หมุนปุ่ม SQL ไปทางด้าน ขวามือจะรับ สัญญาณไม่ชัดเจน เสียงจะขาดหายเป็นช่วงๆ • VOL = ปุ่มปรับระดับความดังของเสียง ถ้าหมุนไปทางขวามือ สัญญาณเสียง จะเพิ่มขึ้น ( เสียงดัง ) หรือถ้าหมุนกลับทางซ้ายมือ สัญญาณเสียงจะ ลดต่ำลง
ปุ่ม และ Function ที่มีผลต่อภาคส่ง • ELOW = กำลังส่งต่ำสุดๆ ประมาณ 0.1 w • LOW = กำลังส่งต่ำ ประมาณ 0.5 w • MID = กำลังส่งปานกลาง ประมาณ 3 w • HIGH = กำลังส่งสูง ประมาณ 5-7 w
ปุ่ม และ Function ที่มีปัญหาการติดต่อสื่อสารบ่อยๆเครื่องวิทยุคมนาคมประเภท 1 • -,+ = ใช้ปรับค่าความแตกต่างระหว่างภาครับ-ส่ง เวลากดคีย์ส่งความถี่ ก็จะเปลี่ยนไป เช่น ความถี่หน้าจอตั้งไว้ที่ 162.550 MHz แล้วกดเครื่องหาย + ความถี่ส่งออกอากาศก็จะเป็น 163.150MHz เพราะว่าเครื่องจะทำการ+600kHz จากฐานความถี่ที่ตั้งมาจาก โรงงานผลิต ใช้ในกรณีติดต่อผ่านสถานีทวนสัญญาณวิทยุ (Repeater) • SAVE = ใช้ปรับเพื่อประหยัดพลังงาน ในกรณีที่เครือค่ายไม่ได้ติดต่อสื่อสาร เครื่องวิทยุคมนาคม ก็จะทำการการปิด , เปิดภาควงจรภาครับสลับกัน ในกรณีตั้งเวลาปิด , เปิดนานเกินไป ก็จะทำให้วงจร เปิดช้า จะรับสัญญาณไม่ได้ หรือได้จะได้ยินเฉพาะประโยคสุดท้าย
ข้อควรระวังในการใช้เครื่องวิทยุคมนาคมข้อควรระวังในการใช้เครื่องวิทยุคมนาคม 1. ก่อนใช้เครื่องวิทยุคมนาคมแต่ละรุ่น ควรศึกษาวิธีการใช้งานจากคู่มือทุกครั้ง 2. อย่าวางเครื่องวิทยุคมนาคมไว้ในที่ร้อนจัดหรือใกล้แหล่งความร้อน 3.อย่าให้เครื่องวิทยุคมนาคมถูกกระทบกระเทือนอย่างรุนแรง ควรมีซองหนังใส่ 4.ในการกดคีย์ส่งข้อความแต่ละครั้ง ห้ามเกิน 30 วินาที เพราะอาจทำความเสียหาย ให้กับเครื่องวิทยุคมนาคมได้ 5.ห้ามเปลี่ยนแปลงกำลังส่ง หรือความถี่ในขณะที่ทำการส่ง 6.อย่าใช่เครื่องวิทยุคมนาคมในบริเวณที่ละอองน้ำมัน หรือก๊าซฟุ้งกระจาย 7.ในกรณีที่จอหน้าปัทม์ของเครื่องวิทยุคมนาคม เป็นแบบ LCD ควรพยายามอย่าให้ถูกแสงแดดนานเกินไป เพราะจะทำให้จอ
8.อย่าเปิดไฟหน้าปัทม์ทิ้งไว้นาน8.อย่าเปิดไฟหน้าปัทม์ทิ้งไว้นาน 9.ในการติดต่อสื่อสาร ควรเลือกใช้กำลังส่งที่น้อยที่สุดเท่าที่จะติดต่อกันได้ 10.การต่อไฟ DC จากภายนอกเข้าเครื่องจะต้องมีอุปกรณ์รักษาแรงดันไฟ ( saver ) 11.ในกรณีที่ใช้สายอากาศแบบสไลด์ เวลาส่งต้องชักสายอากาศให้สุดทกครั้ง 12.การเลือกสายอากาศ จะต้องให้ได้ย่านความถี่ ที่ใช้งานหรือใกล้เคียงมากที่สุด 13.ห้ามทำการปรับจูน แก้ไข เครื่องวิทยุคมนาคม นอกจากช่างเทคนิคที่มีความรู้ ความชำนาญในการตรวจซ่อม 14.หลีกเลี่ยงขณะที่ชาร์ทแบตเตอรี่ ไม่ควรเปิดเครื่องวิทยุคมนาคมอาจทำให้เครื่องวิทยุคมนาคมชำรุดได้ 15.ไม่ควรชาร์จแบตเตอรี่ ในขณะที่แรงดันไฟยังไม่หมด เพราะจะทำให้แบตเตอรี่เสื่อมสภาพเร็วกว่าปกติ
การบำรุงรักษาเครื่องวิทยุคมนาคมการบำรุงรักษาเครื่องวิทยุคมนาคม 1.ควรตรวจน๊อตยึดตัวเครื่อง , ยึดข้อต่อสายอากาศ (BNC) ยึด Clip Belt 2.ตรวจเช็คแบตเตอรี่แพคชาร์ท ทุกๆสัปดาห์ว่ามีคราบสกปรกบริเวณขั้วแบตเตอรี่หรือไม่ 3.ตรวจเช็คแบตเตอรี่ +,- (บวก,ลบ) ภายในเครื่องว่ามีความสกปรกหรือไม่ 4.ตรวจเช็คสายอากาศว่าผิดปกติหรือไม่ โดยเฉพาะชนิดสไลด์(เสาชัก) 5.ตรวจแท่นชาร์ทแบตเตอรี่ว่ามีคราบสกปรกหรือไม่