1 / 14

หลักการ แนวคิด กระบวนการ เกี่ยวกับอุทธรณ์และร้องทุกข์

หลักการ แนวคิด กระบวนการ เกี่ยวกับอุทธรณ์และร้องทุกข์. โดย. ประวีณ ณ นคร ๒๒ มิถุนายน ๒๕๔๘. PGA 1. PAG 2. ความหมาย อุทธรณ์ เป็นวิธีการร้องเรียนในลักษณะโต้แย้งหรือคัดค้าน (OBJECT) ตามกระบวนการยุติธรรม (JUSTICE PROCESS) ร้องทุกข์

daria-cruz
Download Presentation

หลักการ แนวคิด กระบวนการ เกี่ยวกับอุทธรณ์และร้องทุกข์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. หลักการ แนวคิด กระบวนการ เกี่ยวกับอุทธรณ์และร้องทุกข์ โดย ประวีณ ณ นคร ๒๒ มิถุนายน ๒๕๔๘ PGA 1

  2. PAG 2 ความหมายอุทธรณ์ เป็นวิธีการร้องเรียนในลักษณะโต้แย้งหรือคัดค้าน (OBJECT) ตามกระบวนการยุติธรรม (JUSTICE PROCESS) ร้องทุกข์ เป็นวิธีการร้องเรียนในลักษณะร้องขอ (REQUEST)ตามกระบวนการพนักงานสัมพันธ์ (EMPLOYEE RELATIONS PROCESS)

  3. PAG 3 จุดประสงค์อุทธรณ์ เพื่อให้ทบทวนพิจารณาอีกชั้นหนึ่ง ตามกระบวนการยุติธรรม (JUSTICE PROCESS) ร้องทุกข์เพื่อให้เกิดความสัมพันธ์อันดีในองค์กร ตามกระบวนการพนักงานสัมพันธ์(EMPLOYEE RELATIONS PROCESS)

  4. PAG 4 จุดประสงค์ของการร้องทุกข์ 1. สร้างความสัมพันธ์อันดี2. ให้ผู้บังคับบัญชาทราบความรู้สึก3. มีทางระบายอารมณ์4. มีกลไกตรวจสอบและถ่วงดุลอำนาจ5. เสริมความโปร่งใสและเป็นธรรม

  5. PAG 5 ลักษณะ อุทธรณ์ ร้องทุกข์

  6. PAG 6 ความสำคัญ ผู้มีเหตุ ผู้อื่น

  7. PAG 7 หลักการเกี่ยวกับอุทธรณ์ 1. หลักนิติธรรม 2. หลักความยุติธรรม

  8. PAG 8 หลักความยุติธรรม1. ต้องให้รู้เห็นข้อเท็จจริงจากการสอบสวน2. ต้องให้มีโอกาสชี้แจงแถลงการณ์3. ต้องให้ทนายความหรือที่ปรึกษาเข้าร่วมได้4. ต้องให้ผู้สั่งมีโอกาสแถลงแก้5. ต้องให้ผู้มีอำนาจเหนือผู้สั่งเป็นผู้พิจารณา6. ต้องพิจารณาให้ได้ความจริง7. ต้องไม่ชักช้า

  9. PAG 9 หลักการเกี่ยวกับร้องทุกข์1. หลักนิติธรรม2. หลักคุณธรรม3. หลักประโยชน์4. หลักความมั่นคงในการดำรงสถานภาพ5. หลักสวัสดิการ6. หลักความเสมอภาค

  10. PAG 10 กระบวนการเกี่ยวกับอุทธรณ์และร้องทุกข์ ก. การร้องเรียน ข. การพิจารณา ค. การวินิจฉัยและสั่งการ ง. การดำเนินการตามคำวินิจฉัยสั่งการ

  11. PAG 11 สิทธิของผู้อุทธรณ์1. อุทธรณ์สำหรับตนเอง2. ขอตรวจหรือคัดรายงานการสอบสวน3. คัดค้านผู้พิจารณาอุทธรณ์4. ถอนคำอุทธรณ์5. แถลงการณ์ด้วยวาจา6. นำทนายความหรือที่ปรึกษาเข้าร่วมแถลง7. รับทราบผลการพิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ์

  12. PAG 12 กรณีที่ร้องทุกข์ได้ 1. ถูกสั่งให้ออกจากราชการ 2. ได้รับการปฏิบัติไม่ถูกต้องตามกฎหมาย 3. คับข้องใจอันเกิดจากการปฏิบัติของผู้บังคับบัญชา

  13. PAG 13 กรณีคับข้องใจที่ร้องทุกข์ได้ 1. บริหารงานบุคคลโดยเลือกปฏิบัติอย่างไม่เป็นธรรม 2. ไม่มอบหมายงานให้ปฏิบัติ 3. ประวิงเวลาหรือหน่วงเหนี่ยวการดำเนินการ จนเสียสิทธิหรือประโยชน์

  14. หลักการ แนวคิด กระบวนการ เกี่ยวกับอุทธรณ์และร้องทุกข์ โดย ประวีณ ณ นคร ๒๒ มิถุนายน ๒๕๔๘ PGA 1

More Related