400 likes | 738 Views
การศึกษาในต่างประเทศ. โดย น.ท.พีร์ศร คงปั้น หน.การศึกษาต่างประเทศ กศษ.กพ.ทร. ประวัติการศึกษาที่สำคัญ โรงเรียนอัสสัมชัญธนบุรี โรงเรียนเตรียมทหาร 32 โรงเรียนนายเรือ 89 โรงเรียนเสนาธิการทหารเรือ 66. ประวัติการรับราชการ ผบ.ร.ล.หนองสาหร่าย กทบ.กร. ผบ.ร.ล.ลาดหญ้า กทบ.กร. หน.การศึกษาต่างประเทศ.
E N D
การศึกษาในต่างประเทศ โดย น.ท.พีร์ศร คงปั้น หน.การศึกษาต่างประเทศ กศษ.กพ.ทร.
ประวัติการศึกษาที่สำคัญโรงเรียนอัสสัมชัญธนบุรีโรงเรียนเตรียมทหาร 32โรงเรียนนายเรือ 89โรงเรียนเสนาธิการทหารเรือ 66 ประวัติการรับราชการ ผบ.ร.ล.หนองสาหร่าย กทบ.กร. ผบ.ร.ล.ลาดหญ้า กทบ.กร. หน.การศึกษาต่างประเทศ
หัวข้อในการบรรยาย • วัตถุประสงค์ในการส่งกำลังพลไปศึกษาในต่างประเทศ • รายละเอียดการจัดกำลังพลไปศึกษาในต่างประเทศ • หลักเกณฑ์การไปศึกษาในต่างประเทศ • การคัดเลื อกกำลังพลไปศึกษาในต่างประเทศ • การดำเนินการของต้นสังกัด และผู้ได้รับทุน • หลักฐานสำคัญที่จะต้องใช้ในการดำเนินการ เพื่อไปต่างประเทศ • การปฏิบัติตนของผู้ไปศึกษา ณ ต่างประเทศ • การปฏิบัติตนเมื่อกลับจากการศึกษา ณ ต่างประเทศ
วัตถุประสงค์ในการส่งกำลังพลไปศึกษาในต่างประเทศวัตถุประสงค์ในการส่งกำลังพลไปศึกษาในต่างประเทศ • เพื่อเตรียมกำลังพลให้มีความรู้ในสาขาที่จำเป็น และเป็นประโยชน์แก่ ทร. ซึ่งการเตรียมกำลังพลดังกล่าว ไม่สามารถกระทำภายในประเทศได้ ๒. เพื่อกลับมาเป็นครู อาจารย์ ในการถ่ายทอด และพัฒนาวิชาความรู้ ให้แก่กำลังพลของ ทร. ๓. เพื่อเป็นการกระชับความสัมพันธ์กับทหารเรือของมิตรประเทศ
โครงการฝึก ศึกษา ประชุม สัมมนา และดูงาน ณ ต่างประเทศ ประจำปี งป.๕๑ • ทุน ทร. ประเภททุนผูกพัน (นนร. , ข้าราชการ) • ทุน ทร. ประเภททุนจัดส่งใหม่ (นนร. , ข้าราชการ) • ทุน ทร. ประเภทการฝึกอบรมและปฏิบัติงานตามโครงการจัดหาเรือ อากาศยาน และยุทโธปกรณ์ • ทุนตามโครงการความช่วยเหลือทางทหารจากต่างประเทศ รวม จำนวนหลักสูตร ๑๙๗ หลักสูตร กำลังพล ๒๖๕ นาย งป. ๑๔๙ ล้านบาท
การจัดส่งกำลังพลไปศึกษาในต่างประเทศหลักสูตรและระดับการศึกษาการจัดส่งกำลังพลไปศึกษาในต่างประเทศหลักสูตรและระดับการศึกษา • หลักสูตร นนร. ต่างประเทศ • หลักสูตร วปอ. วทร. รร.สธ.ทหาร และ รร.สธ.ทร. ต่างประเทศ • หลักสูตรระดับปริญญาโท/ปริญญาโท-เอก ตามโครงการพัฒนาองค์บุคคลของ ทร. • การฝึกอบรมตามโครงการจัดหาเรือ อากาศยาน และยุทโธปกรณ์ • ทุนส่วนตัว
หลักสูตรและระดับการศึกษา (ต่อ) • ทุนตามโครงการศึกษาทางราชการของรัฐบาลต่างประเทศ ประกอบด้วยทุน • IMETP (U.S.International Military Education and Training Program) โครงการฝึกอบรมทางทหารของรัฐบาลสหรัฐ ฯ ที่สนับสนุนและช่วยเหลือแบบให้เปล่า แก่ชาติต่าง ๆ ที่เป็นพันธมิตรกับสหรัฐ ฯ • DCP (Defence Cooperation Program) ตามโครงการป้องกันร่วมกันทางทหารของรัฐบาลออสเตรเลีย • MAP (Mutual AssistanceProgram) โครงการความช่วยเหลือร่วมกับรัฐบาลนิวซีแลนด์ • MTAP (Military Training Assistance Program) โครงการความช่วยเหลือทางทหารของรัฐบาลแคนาดา
หลักเกณฑ์การไปศึกษาต่างประเทศข้อบังคับ กห. ว่าด้วยการศึกษาในต่างประเทศพ.ศ.๒๕๒๗ และฉบับแก้ไขระเบียบ และหลักเกณฑ์ของ ทร.
มีสัญชาติไทย และบิดามารดามีสัญชาติไทย โดยกำเนิด มีร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์ มีความประพฤติเรียบร้อย ไม่เป็นผู้มีหนี้สินล้นพ้นตัว ไม่อยู่ในระหว่างเป็นผู้ต้องหา หรือจำเลย ในคดีอาญา มีความรู้ด้านภาษา เป็นอย่างดี มีความรู้พื้นฐานวิชา ที่จะไปศึกษาเป็นอย่างดี คุณสมบัติโดยทั่วไปของผู้ที่ไปศึกษาในต่างประเทศ
ข้าราชการทหาร ต้องรับราชการมาแล้วไม่น้อยกว่า ๑ ปี เว้นแต่ผู้สำเร็จการศึกษาจาก รร.ทหาร ตามข้อบังคับ กห.ว่าด้วยโรงเรียนทหาร ลูกจ้างประจำ ต้องปฏิบัติงานในตำแหน่งที่ได้รับค่าจ้างประจำ มาแล้วไม่น้อยกว่า ๒ ปี ถ้าเคยไปศึกษาต่างประเทศมาก่อน ไม่ว่าทุนใด ๆ เมื่อจะไปศึกษาอีกจะต้องอยู่ปฏิบัติงานตามกำหนดดังนี้ - ศึกษาตั้งแต่ ๓ เดือนขึ้นไป ต้องกลับมาปฏิบัติงานแล้วไม่น้อยกว่า ๒ ปี - ศึกษาน้อยกว่า ๓ เดือน ต้องกลับมาปฏิบัติงานแล้ว ไม่น้อยกว่า ๑ ปี คุณสมบัติของผู้ที่ทางราชการส่งไปศึกษา
ระยะเวลาในการศึกษา • ศึกษาหลักสูตรเฉพาะ ต้องเป็นไปตามระยะเวลาที่ หลักสูตรกำหนดไว้ • ศึกษาระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่า ไม่เกิน ๔ ปี • ศึกษาระดับปริญญาโทหรือเทียบเท่า ไม่เกิน ๒ ปี • ศึกษาระดับปริญญาเอกหรือเทียบเท่า ไม่เกิน ๓ ปี
การขยายระยะเวลาในการศึกษาการขยายระยะเวลาในการศึกษา • ผู้ที่ศึกษาในต่างประเทศ หากศึกษาไม่สำเร็จตามหลักสูตรภายในระยะเวลาที่ได้รับอนุมัติไว้แล้ว อาจขอขยายระยะเวลาการศึกษาออกไปอีกได้ภายใต้เงื่อนไขดังนี้ - ทำวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาโท หรือปริญญาเอก ซึ่งจะต้องมีเอกสารจากสถานศึกษา รายงานการพิจารณาของผู้ช่วยทูตฝ่ายทหาร และรายงานของคณะกรรมการส่วนราชการต้นสังกัด เสนอมากับรายงานที่ขออนุมัติ เพื่อประกอบการพิจารณาด้วย
การขยายระยะเวลาในการศึกษาการขยายระยะเวลาในการศึกษา - ในกรณีมีเหตุสุดวิสัย คือเหตุใด ๆ อันจะเกิดขึ้นก็ดี จะได้ผลพิบัติก็ดี ไม่มีใครจะอาจป้องกันได้ แม้บุคคลผู้ต้องประสบหรือใกล้จะต้องประสบเหตุนั้น จะได้จัดการระมัดระวังตามสมควร อันพึงคาดหมายได้จากบุคคลนั้นในฐานะเช่นนั้น - มีการเปลี่ยนแปลงและขยายระยะเวลาหลักสูตรการศึกษาใหม่ ซึ่งจะต้องมีเอกสารรับรองจากสถานศึกษาเสนอมาประกอบการพิจารณาด้วย - การขอขยายระยะเวลาที่ไม่เข้าหลักเกณฑ์ตามข้างต้น ต้องใช้เวลาไม่เกินกึ่งหนึ่งของที่ได้รับอนุมัติไว้เดิม และให้ใช้ทุนส่วนตัว
เกณฑ์อายุและผลการศึกษาของผู้ที่ทางราชการส่งไปศึกษา (เว้นนักเรียนในสังกัด กห.) • ศึกษาระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่า อายุไม่เกิน ๒๕ ปี ผลการศึกษาสุดท้ายก่อนเข้าศึกษาระดับปริญญาตรีต้องได้ ไม่น้อยกว่า ๒.๕ หรือเทียบเท่า • ศึกษาระดับปริญญาโทหรือเทียบเท่า อายุไม่เกิน ๓๕ ปี ผลการศึกษาระดับปริญญาตรีต้องได้ไม่น้อยกว่า ๒.๘ หรือเทียบเท่า
เกณฑ์อายุและผลการศึกษาของผู้ที่ทางราชการส่งไปศึกษา (เว้นนักเรียนในสังกัด กห.) (ต่อ) • ศึกษาระดับปริญญาเอกหรือเทียบเท่า อายุไม่เกิน ๔๐ ปี ผลการศึกษาระดับปริญญาโทต้องได้ไม่น้อยกว่า ๓.๕ หรือเทียบเท่า
ผู้ที่ขออนุญาตลาไปศึกษา ต้องอยู่ในหลักเกณฑ์ดังนี้ • สาขาวิชาที่จะศึกษา ต้องเป็นสาขาวิชาที่ทางราชการทหารต้องการ และสถานที่ศึกษาที่จะไปศึกษาต้องได้รับความเห็นชอบจากทางราชการแล้ว
สัญญาในการไปศึกษาต่างประเทศสัญญาในการไปศึกษาต่างประเทศ ข้อบังคับ กห.ว่าด้วยการศึกษาในต่างประเทศ พ.ศ.๒๕๒๗ กำหนดให้ ผู้ที่ไปศึกษาต่างประเทศทำหนังสือสัญญาเพื่อรับราชการชดใช้ ดังนี้ - ศึกษาไม่เกิน ๓ เดือน ต้องกลับมารับราชการชดใช้ ๑ ปี นับตั้งแต่วันที่มาปฏิบัติหน้าที่หลังจากสำเร็จการศึกษา - ศึกษาเกิน ๓ เดือน แต่ไม่เกิน ๖ เดือน ต้องกลับมารับราชการชดใช้ ๒ ปี นับตั้งแต่วันที่มาปฏิบัติหน้าที่หลังจากสำเร็จการศึกษา - ศึกษาเกินกว่า ๖ เดือน ต้องกลับมารับราชการชดใช้ ๒ เท่าของเวลาที่ไปศึกษา แต่ต้องไม่น้อยกว่า ๓ ปี หรืออย่างสูงไม่เกิน ๑๐ ปี นับตั้งแต่วันที่มาปฏิบัติหน้าที่หลังจากสำเร็จการศึกษา
การคัดเลือกกำลังพลไปศึกษาในต่างประเทศการคัดเลือกกำลังพลไปศึกษาในต่างประเทศ ตามอนุมัติ ทร.ท้ายบันทึก กพ.ทร.ที่ กห ๐๕๐๓/๑๑๐๘๑ ลง ๑๐ พ.ย.๔๑ ได้กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการคัดเลือกข้าราชการ ทร. และ นนร.ไปศึกษา/อบรม ณ ต่างประเทศ ไว้ว่า - สอบภาควิชาการ ได้แก่ ความรู้พื้นฐาน/วิชาชีพ ซึ่งเกี่ยวข้องกับหลักสูตรที่จะไปศึกษา โดยหน่วยหัวหน้าสายวิทยาการ/หน่วยที่ทำหน้าที่คัดเลือกบุคคล และสอบวิชาภาษาอังกฤษ (PT) โดย ศภษ.ยศ.ทร. - สอบสัมภาษณ์ โดยกรรมการสอบสัมภาษณ์จาก กพ.ทร. และหน่วยหัวหน้าสายวิทยาการ/หน่วยที่ทำหน้าที่คัดเลือกตัวบุคคล/หน่วยขอทุน รวมกันไม่ต่ำกว่า ๓ นาย (กรรมการสอบสัมภาษณ์ต้องมีชั้นยศ/อาวุโสมากกว่าผู้เข้ารับการสัมภาษณ์)
เกณฑ์ผ่านภาษาอังกฤษ (ECL)ที่ ทร.กำหนดไว้สำหรับผู้ที่ไปต่างประเทศ ซึ่งต้องใช้ภาษาอังกฤษเป็นหลัก โดย ทร.เป็นผู้ออกค่าใช้จ่ายหรือออกค่าใช้จ่ายสมทบ ทุน IMET ถือเกณฑ์ ECLตามที่จัสแม็กไทยกำหนด
หน่วยให้ทุน ได้รับแจ้งจากแหล่งทุน พิจาณาหลักการเหตุผล ความจำเป็น กำหนด คุณสมบัติ และข้อจำกัด ด้าน งป. กพ.ทร. + หน.สายวิทยาการ หลักการจัดส่ง (ในโครงการไม่ ต้องดำเนินการ เนื่องจาก ทร.อนุมัติ ไว้แล้ว) กง.ทร. กพ.ทร. ทร.
กพ.ทร.+หน.สายวิทยาการ + ศภษ.ยศ.ทร. ประกาศรับสมัคร, คัดเลือก,เข้าอบรม ภาษา ที่ ศภษ.ยศ.ทร. ตัวบุคคล ทร.
กพ.ทร. ตรวจสุขภาพ คำนวณค่าใช้จ่าย หนังสือรับรองความไว้วางใจ ทำ Passport , VISA จองตั๋วเครื่องบิน รพ.ทร., กง.ทร., ขว.ทร., การบินไทย เดินทาง สัญญา กพ.ทร. ในโครงการ/ ไม่เสียค่าใช้จ่าย ทร. บก.ทหารสูงสุด นอกโครงการมีค่าใช้จ่าย
การดำเนินการของต้นสังกัด และผู้ได้รับทุน • ทำสัญญาการไปศึกษา ๓ ชุด • ไปตรวจสุขภาพที่ พร. • ติดต่อทำ PASSPORT ที่ กตท.ขว.ทร. • ติดต่อขอ SECURITY CLEARANCE ที่ กตท.ขว.ทร. • เมื่อได้ PASSPORT แล้ว ไปติดต่อทำ VISA ที่สถานฑูต ฯ • ไปบริษัทการบินไทยเพื่อสำรองตั๋วเครื่องบิน/กำหนดเที่ยวบิน • รับเงินตามที่ กง.ทร.คำนวณค่าใช้จ่ายไว้แล้ว ที่ ธ.ทหารไทย • แจ้งวัน เวลาเดินทาง และเที่ยวบินให้ กศษ.กพ.ทร.ทราบ
ค่าใช้จ่ายสำหรับผู้ที่ทางราชการส่งไปศึกษาค่าใช้จ่ายสำหรับผู้ที่ทางราชการส่งไปศึกษา (กง.ทร. เป็นผู้คำนวณ) - ค่าแต่งตัว - ค่าโดยสารเครื่องบิน - ค่าธรรมเนียมสนามบิน - ค่าธรรมเนียมศึกษาต่างๆ - ค่าใช้จ่ายประจำตัว - ค่าขนของกลับประเทศไทย
หลักฐานสำคัญที่จะต้องใช้ในการดำเนินการเพื่อไปต่างประเทศหลักฐานสำคัญที่จะต้องใช้ในการดำเนินการเพื่อไปต่างประเทศ • ผลการตรวจสุขภาพจาก พร. • ใบรับรองความไว้วางใจ (รปภ.) และ SECURITY CLEARANCE จาก ขว.ทร. • บัญชีรายละเอียดค่าใช้จ่ายจาก กง.ทร. • I-20 หรือเอกสารแสดงการเข้ารับการศึกษา ณ สถาบันการศึกษานั้น
หลักฐานสำคัญที่จะต้องใช้ในการดำเนินการเพื่อไปต่างประเทศ (ต่อ) • สำเนาทะเบียนบ้าน • สำเนาบัตรประจำตัวข้าราชการ • TRANSCRIPT ผลการศึกษาภายในประเทศ • สัญญาและสัญญาค้ำประกันผู้ที่ไปศึกษา ณ ต่างประเทศ จำนวน ๓ ชุด • หนังสือรับรองสถานศึกษาจากสำนักงาน ก.พ. (กรณีศึกษาระดับปริญญา)
การปกครองบังคับบัญชาระหว่างศึกษาในต่างประเทศการปกครองบังคับบัญชาระหว่างศึกษาในต่างประเทศ - ข้าราชการ ลูกจ้างประจำ หรือนักเรียนในสังกัดกระทรวงกลาโหมที่ศึกษาในต่างประเทศ ให้ถือว่าเป็นการปฏิบัติหน้าที่ราชการ ต้องอยู่ในระเบียบวินัย และปฏิบัติตามแบบธรรมเนียมทหารทุกประการ - ผู้ที่ศึกษาในต่างประเทศ ให้อยู่ในความปกครองบังคับบัญชาของผู้ช่วยทูตฝ่ายทหารประจำประเทศนั้น หรือผู้ที่ กห.มอบอำนาจให้ปกครองบังคับบัญชา ตั้งแต่วันรายงานตัวเมื่อเดินทางไปถึงจนกระทั่งเดินทางกลับ
การปฏิบัติตนของผู้ไปศึกษา ณ ต่างประเทศ ๑. เมื่อเดินทางไปถึงให้รายงานตัวต่อ ผชท.ทร.ประจำประเทศนั้น ๆ ๒. การปฏิบัติตนในระหว่างการศึกษา ดูงาน ฝึกงาน - รายงานการศึกษาตามระยะเวลาต่อ ผชท.ทร.ทุก ๓ เดือน - รายงานผลการศึกษาทุกครั้งที่ทราบผล พร้อมแสดงหลักฐาน - รายงานพิเศษทุกครั้งที่มีเหตุการณ์ผิดปกติเกิดขึ้น - รายงานตำบล ที่อยู่ ทุกครั้งที่เปลี่ยนแปลงใหม่ให้ ผชท.ทร.ทราบ ๓. เมื่อรายงานตัวเข้ารับการศึกษาแล้ว จะต้องเสนอแผนการศึกษาของแต่ละเทอมหรือภาคการศึกษาให้ ผชท.ทร.ประจำประเทศนั้นทราบ และหากมีการเปลี่ยนแปลงในภายหลังจะต้องแจ้งให้ ผชท.ทร.ทราบด้วย
การปฏิบัติตนของผู้ไปศึกษา ณ ต่างประเทศ (ต่อ) ๔. รายงานการศึกษาทุก ๆ ภาคการศึกษาต่อ ผชท.ทร. ๕. ควรศึกษาและทำความเข้าใจ ข้อบังคับ กห.ว่าด้วยการศึกษาในต่างประเทศ พ.ศ.๒๕๒๗ และฉบับแก้ไข ๖. ขณะอยู่ในต่างประเทศ ผชท.ทร.จะเป็นผู้ดูแลในด้านต่าง ๆ ๗. การลากลับมาเยี่ยมบ้าน ต้องขออนุมัติ ทร. (ผ่าน ผชท.ทร.) ๘. เมื่อเสร็จสิ้นการศึกษา ให้รายงานกำหนดการสำเร็จการศึกษา พร้อมกับกำหนดการเดินทางกลับให้ ผชท.ทร.ทราบทันที เพื่อติดต่อ กง.ทร. ให้จัดตั๋วเครื่องบินให้
การปฏิบัติตนเมื่อกลับจากการศึกษา ณ ต่างประเทศ ๑. ผู้ไปศึกษาต้องมารายงานตัวที่ กศษ.กพ.ทร.ในโอกาสแรก ๒. รายงานตัวต่อหน่วยต้นสังกัดที่ผู้ไปศึกษาสังกัดอยู่ ๓. ทำรายงานการไปศึกษา ตามระเบียบ ทร.ที่ ๑๐๐ ว่าด้วย การถ่ายทอดวิชา ซึ่งระบุว่า เมื่อข้าราชการผู้ใดกลับจากการศึกษา ฝึกงาน หรือ ดูงานแล้ว ให้ข้าราชการผู้นั้น ทำรายงานตามหัวข้อที่ได้ศึกษาพร้อมด้วย รายการโดยย่อ และข้อคิดเห็นต่าง ๆ เสนอตามลำดับชั้นภายใน ๑ เดือน นับตั้งแต่วันที่เดินทางกลับประเทศไทย
สิทธิในการลาหยุดพักผ่อนภายหลังกลับจากการศึกษา ณ ต่างประเทศ • ถ้าไปไม่เกิน ๓ เดือน พักผ่อนได้ ๕ วัน ตั้งแต่วันที่มาถึง • ถ้าไปตั้งแต่ ๓ เดือนขึ้นไป แต่ไม่เกิน ๑ ปี พักผ่อนได้ ๗ วัน ตั้งแต่วันมาถึง • ถ้าไปตั้งแต่ ๑ ปีขึ้นไป พักผ่อนได้ ๑๐ วัน ตั้งแต่วันที่มาถึง
ปัญหาที่พบ • หน่วยขอทุน แจ้งเปลี่ยนแปลงเวลา และค่าใช้จ่าย • สอบภาษาอังกฤษไม่ผ่านเกณฑ์ • สัญญาไม่เรียบร้อย • ได้รับแจ้งการให้ทุนกระชั้นชิด • ผู้ไปศึกษาไม่ปฏิบัติตามคำแนะนำในระหว่างศึกษา • การขยายระยะเวลาการศึกษา • การลาออก กรณีใช้ทุนยังไม่ครบ (ผิดสัญญา)