1 / 23

การรับและแสดงผลข้อมูล

การรับและแสดงผลข้อมูล. บทนำ. ภาษาซีเมื่อต้องการเขียนโปรแกรมเพื่อรับและแสดงผลข้อมูล ต้องเรียกใช้ฟังก์ชันที่มีอยู่ในไฟล์ห้องสมุด (library) ฟังก์ชันเหล่านี้จะรวบรวมไว้ภายใต้ไฟล์การรับและการแสดงผลมาตรฐาน (Standard Input and Output File)

Download Presentation

การรับและแสดงผลข้อมูล

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การรับและแสดงผลข้อมูลการรับและแสดงผลข้อมูล

  2. บทนำ • ภาษาซีเมื่อต้องการเขียนโปรแกรมเพื่อรับและแสดงผลข้อมูล ต้องเรียกใช้ฟังก์ชันที่มีอยู่ในไฟล์ห้องสมุด (library) • ฟังก์ชันเหล่านี้จะรวบรวมไว้ภายใต้ไฟล์การรับและการแสดงผลมาตรฐาน (Standard Input and Output File) • เมื่อต้องการเรียกใช้ฟังก์ชันดังกล่าวสามารถทำได้โดยใช้คำสั่ง #include กำหนดไว้ในส่วนหัวของโปรแกรม

  3. ประเภทของฟังก์ชันมาตราฐานประเภทของฟังก์ชันมาตราฐาน • แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท ได้แก่ 1. ฟังก์ชันมาตราฐานสำหรับการรับและแสดงผลข้อมูลที่อยู่ในไฟล์ stdio.h ได้แก่ ฟังก์ชัน printf() และ scanf() 2. ฟังก์ชันมาตราฐาน สำหรับการรับและแสดงผลครั้งละหนึ่งตัวอักษรที่อยู่ในไฟล์ conio.h (Console I/O File) ได้แก่ ฟังก์ชัน getchar(), getche(), getch() และ putchar()

  4. ฟังก์ชัน printf() • printf() เป็นฟังก์ชันหนึ่งในไฟล์ stdio.h สำหรับแสดงผลข้อมูล เนื่องจาก Turbo C ไม่มีฟังก์ชันเฉพาะ (Built-in Function) • printf() เป็นโปรแกรมย่อยสำหรับการพิมพ์ข้อมูล ตัวแปร นิพจน์ หรือข้อความต่างๆ ออกทางจอภาพ • รูปแบบ ส่วนควบคุมการพิมพ์กำหนดในเครื่องหมาย “” มีทั้งข้อความและรูปแบบ % นำหน้า ส่วนที่ติดตามคำสั่งได้แก่ ค่าคงที่ ตัวแปร นิพจน์หรือข้อความที่ต้องการแสดงผล

  5. ตัวอย่าง #include “stdio.h” main() { int total=100; printf(“The total is %d”,total); } The total is 100

  6. รูปแบบการพิมพ์ของฟังก์ชัน printf() มีดังนี้

  7. การใช้ String Constant ควบคุมการแสดงผล • String Constant นำหน้าด้วยเครื่องหมาย “\ “ • ใช้ร่วมกับเครื่องหมาย % เพื่อควบคุมการแสดงผล • ยกตัวอย่างเช่น \n หมายถึง การควบคุมให้ขึ้นบรรทัดใหม่ \t หมายถึง การควบคุมให้เลื่อนตามระยะ tab • การใช้ String Constant ร่วมกับรหัสรูปแบบการพิมพ์ (%) สามารถกำหนดอะไรก่อนหลังได้ตามต้องการ โดยไม่มีผลต่อการรันโปรแกรม

  8. ความหมายของ String Constant ต่างๆ

  9. ฟังก์ชัน scanf() • scanf() เป็นฟังก์ชันพื้นฐานที่ใช้ควบคู่กับฟังก์ชัน printf() ใช้สำหรับรับข้อมูลที่อ่านจากแป้นพิมพ์ตามรูปแบบที่กำหนดด้วยเครื่องหมาย % เข้าไปเก็บไว้ในตัวแปร Argument • เมื่อผู้ใช้กดปุ่ม Enter โดยที่ตัวแปรเหล่านี้จะเป็น Pointer ที่ชี้ไปยังชนิดของข้อมูลที่สอดคล้องกับรูปแบบที่กำหนดไว้ • เครื่องหมาย & (Ambersand) จะใช้นำหน้าตัวแปรที่เตรียมไว้สำหรับเก็บข้อมูลที่เป็นตัวเลขและตัวอักษร • รูปแบบของฟังก์ชัน รูปแบบของการรับข้อมูล กำกับด้วย % ตัวแปรที่รับค่าจากแป้นพิมพ์เข้ามาเก็บไว้

  10. รูปแบบการรับข้อมูลของฟังก์ชัน scanf()

  11. รูปแบบการรับข้อมูลของฟังก์ชัน scanf()

  12. การป้อนข้อมูลทางแป้นพิมพ์การป้อนข้อมูลทางแป้นพิมพ์ • เมื่อป้อนข้อมูลทางแป้นพิมพ์ ข้อมูลที่จะป้อนต้องสอดคล้องกับ Format String ของฟังก์ชัน scanf() • ตัวอย่าง int x,y; scanf(“%d %d”,&x,&y); • โปรแกรมจะรับเลขจำนวนเต็ม 2 ค่านำไปเก็บไว้ในตัวแปร x และ y

  13. ไม่ต้องเก็บเครื่องหมาย “-” การป้อนข้อมูลทางแป้นพิมพ์ • ตัวอย่าง int x; char y; scanf(“%d%c”,&x,&y); //800$ int one,two; scanf(“%d%*c%d”,&one,&two); //585-8541 int x,y; charc; scanf(“%d%c%d”,&x,&c,&y); //10 20

  14. การรับชุดตัวอักษรทางแป้นพิมพ์การรับชุดตัวอักษรทางแป้นพิมพ์ • เมื่อต้องการรับชุดตัวอักษร (String) สามารถทำได้ดังนี้ • ตัวอย่าง char str[]; //ABCDEFGHIJKLMNOPQRST scanf(“%10s”,str); //ABCDEFGHIJ scanf(“%20s”,str); //ABCDEFGHIJKLMNOPQRST scanf(“%[ABC]”,str); //ABC scanf(“%[A-K]”,str); //ABCDEFGHIJK scanf(“%[^ABCD]”,str); //EFGHIJKLMNOPQRST

  15. ฟังก์ชัน getchar() • เป็นฟังก์ชันมาตราฐานที่อยู่ใน Library ของ Turbo C • ใช้สำหรับอ่านข้อมูลแบบตัวอักษร (Character) จากการกดแป้นพิมพ์ทีละตัวอักษร • กรณีที่ต้องการอ่านข้อมูลที่มีความยาวมากกว่า 1 ตัวอักษร สามารถทำได้โดยเรียกใช้ฟังก์ชันนี้หลายครั้ง โดยอาจจะใช้ร่วมกับคำสั่งประเภท Loop ก็ได้ • ฟังก์ชันนี้ไม่มี Argument เป็นพารามิเตอร์ getchar(); อ่านข้อมูลครั้งละ 1 ตัวต้องกดแป้น Enter เมื่อสิ้นสุดและจะแสดงตัวอักษรบนจอภาพ

  16. ตัวอย่างการใช้งานฟังก์ชัน getchar() #include “stdio.h” main() { char ch; ch=getchar(); printf(“You typed : %c”,ch); }

  17. ฟังก์ชัน getche() • เป็นฟังก์ชันที่ถูกระบุใน conio.h • ใช้สำหรับอ่านข้อมูลแบบตัวอักษร โดยจะรับข้อมูลทันทีที่กดแป้นพิมพ์โดยไม่ต้องรอการกด Enter • ทำการอ่านข้อมูลครั้งละ 1 ตัวอักษร เข้ามาเก็บในชื่อของตัวเองจึงไม่มีพารามิเตอร์ใดๆเป็น Argument และข้อมูลที่ได้จากการอ่านจะปรากฎบนจอภาพด้วย getche(); อ่านข้อมูลครั้งละ 1 ตัวโดยไม่ต้องกดแป้น Enter และจะแสดงตัวอักษรบนจอภาพ

  18. ตัวอย่างโปรแกรมสำหรับแสดงรหัส ASCII #include “stdio.h” #include “conio.h” main(){ char ch; printf(“Enter a character :”); ch=getche(); printf(“ASCII code is %d”,ch); }

  19. ตัวอย่างโปรแกรม menu การป้อน A,S,M หรือ D เพื่อเลือกการทำงาน #include “stdio.h” #include “conio.h” main(){ int a,b; char ch; printf(“Do you want to :\n”); printf(“Add, Substract, Multiply or Devide ?\n”); printf(“Enter first letter :”); ch=getche(); printf(“\n”); printf(“Enter first number :”); scanf(“%d”,&a); printf(“Enter second number :”); scanf(“%d”,&b); if(ch == ‘A’) printf(“%d”,a+b); if(ch == ‘S’) printf(“%d”,a-b); if(ch == ‘M’) printf(“%d”,a*b); if(ch == ‘D’) printf(“%d”,a/b); }

  20. ฟังก์ชัน getch() • เป็นฟังก์ชันที่อยู่ภายใต้ conio.h เช่นเดียวกับฟังก์ชัน getche() • ใช้สำหรับอ่านข้อมูลแบบตัวอักษรจากการกดแป้นพิมพ์ทีละตัว • เครื่องจะรับข้อมูลทันทีที่กดแป้นโดยไม่ต้องรอกด Enter แต่จะไม่แสดงตัวอักษรที่ป้อนปรากฎให้เห็น getch();

  21. ฟังก์ชัน putchar() • สั่งให้คอมพิวเตอร์แสดงผลบนจอภาพครั้งละหนึ่งตัวอักษร ฟังก์ชันนี้จะมี Argument ภายในวงเล็บ เป็นตัวแปรชนิด Character ที่จะส่งข้อมูลไปแสดงผล • ส่วนของ Argument อาจจะเป็นฟังก์ชันซ้อนอยู่เป็นพารามิเตอร์ก็ได้ แต่ค่าของฟังก์ชันที่ซ้อนอยู่นั้นจะต้องได้ผลลัพธ์เพียง 1 ตัวอักษรเท่านั้น putchar(argument); ตัวแปรหรือฟังก์ชันที่เก็บค่าตัวอักษร 1 ตัว ฟังก์ชันที่แสดงผลออกทางจอภาพครั้งละ 1 ตัวอักษร

  22. ตัวอย่างการใช้งานฟังก์ชัน puchar() #include “stdio.h” main() { char x; x=getchar(); putchar(x); } putchar(getchar());

  23. THE END

More Related