1 / 31

เตรียมอย่างไร จึงจะผ่าน Reaccreditation ได้สบายๆ

เตรียมอย่างไร จึงจะผ่าน Reaccreditation ได้สบายๆ. เตรียมความมุ่งมั่น การเขียนรายงานความก้าวหน้า การเขียนแบบประเมินตนเอง จุดอ่อนที่พบบ่อย คาถาผ่านการรับรอง. เตรียมความมุ่งมั่น ( commitment). ทีมนำ ทีม PCT ทีมนำระบบงาน หน่วยงาน เจ้าหน้าที่เก่าและใหม่. ถามใจกันก่อน. เราได้อะไรจาก HA

danyl
Download Presentation

เตรียมอย่างไร จึงจะผ่าน Reaccreditation ได้สบายๆ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เตรียมอย่างไรจึงจะผ่านReaccreditation ได้สบายๆ

  2. เตรียมความมุ่งมั่น • การเขียนรายงานความก้าวหน้า • การเขียนแบบประเมินตนเอง • จุดอ่อนที่พบบ่อย • คาถาผ่านการรับรอง

  3. เตรียมความมุ่งมั่น (commitment) • ทีมนำ • ทีม PCT • ทีมนำระบบงาน • หน่วยงาน • เจ้าหน้าที่เก่าและใหม่

  4. ถามใจกันก่อน • เราได้อะไรจาก HA • ผลงานความภาคภูมิใจจากการพัฒนามีอะไรบ้าง • สภาพการทำงานในปัจจุบัน การทำตามระบบที่วางไว้ ทำได้ดีหรือยัง • ต้องการพัฒนาเรื่องใดต่อ มีแผนการดำเนินการอย่างไร • HAเป็นตัวช่วยในการพัฒนาหรือไม่

  5. ทีมนำมีความสำคัญอย่างมากในการกระตุ้นและผลักดันทีมนำมีความสำคัญอย่างมากในการกระตุ้นและผลักดัน การพัฒนาอย่างต่อเนื่อง • ต้องทุ่มเทอย่างมากเพื่อผ่าน Accreditation • ต้องทุ่มเทอย่างมาก(กว่าเดิม) เพื่อผ่าน Reaccreditation

  6. ผลการพัฒนาที่สร้างความร่วมมือร่วมใจให้เกิดขึ้น ผลการพัฒนาที่สร้างความร่วมมือร่วมใจให้เกิดขึ้น ในหมู่เจ้าหน้าที่ มีการประสานงานกันดีขึ้น การทำงานประจำสะดวกขึ้น ได้รับการร้องเรียนน้อยลง (ได้โบนัสเพิ่มขึ้น) เป็นผลให้เกิดพลังในการพัฒนา ต่อเนื่อง

  7. รวมทีมรวบรวมผลงาน เพื่อรายงานความก้าวหน้า ภายหลังจาก Accreditation และ Surveillance survey

  8. การเขียนรายงานความก้าวหน้าการเขียนรายงานความก้าวหน้า 1. เขียนผลการปฏิบัติงานจริงของทีมและหน่วยงาน โดยทีมปฏิบัติจริงร่วมกันเขียน 2. การติดตามผลงานให้คำนึงถึง P,D,C,A ควรมีผลงานระดับ C, Aโดยเฉพาะอย่างยิ่ง ระบบที่วางไว้ นานแล้ว

  9. การเขียนรายงานความก้าวหน้าการเขียนรายงานความก้าวหน้า 3.ถ้าเขียนไม่ได้ ให้พิจารณาว่ายังไม่มีการปฏิบัติ หรือ ปฏิบัติแล้วแต่ยังไม่เป็นระบบ หรือปฏิบัติได้ดี แต่ขาดเพียงระบบการรวบรวมข้อมูล 4.ควรใช้โอกาสการเขียนรายงานความก้าวหน้าในการทำงานเป็นทีม เพื่อแก้ไขจุดอ่อน

  10. การเขียนแบบประเมินตนเองการเขียนแบบประเมินตนเอง 1.ขึ้นกับการใช้มาตรฐานเดิมหรือมาตรฐานใหม่ 2.ให้เขียนบริบททุกทีม / ทุกหน่วยงาน 3.เขียนผลงานเป็นรูปธรรม ไม่ต้องเขียนกระบวนการ หรือทฤษฎีมากนัก 4.ผลลัพธ์ต้อง Update 5.เขียน Clinical tracer

  11. จุดอ่อนที่พบบ่อย 1.การทบทวนทางคลินิก (12 กิจกรรม) 2.ระบบบริหารความเสี่ยงและความเสี่ยงทางคลินิก 3.เครื่องชี้วัด 4.ระบบยา

  12. จุดอ่อนที่พบบ่อย 5.คุณภาพการบันทึกเวชระเบียน 6.การป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ 7.โครงสร้างกายภาพและสิ่งแวดล้อม 8.Competency

  13. 1.การทบทวนทางคลินิก (12 กิจกรรม) • จากการเยี่ยมสำรวจไม่พบการทบทวนขณะดูแลผู้ป่วย ในรายผู้ป่วยโรคซับซ้อนอย่างเป็นองค์รวม โดยทีมสหวิชาชีพ (อย่างน้อยแพทย์และพยาบาล) ในการดูแลผู้ป่วยใน Ward, ER, LR ,ICU

  14. 1.การทบทวนทางคลินิก (12 กิจกรรม) • จากการพูดคุยและดูรายงานการประชุม ไม่พบ ข้อสรุปบทเรียนจากการทบทวน และการนำผล จากบทเรียนในเรื่องที่สำคัญไปขยายผลและปรับเปลี่ยนระบบงาน

  15. 1.การทบทวนทางคลินิก (12 กิจกรรม) • ไม่พบการทำ RCA ในเหตุการณ์สำคัญ (Sentinel event) • พบการทำ RCA แต่ไม่สามารถหาสาเหตุเชิงระบบได้

  16. 1.การทบทวนทางคลินิก (12 กิจกรรม) • การทบทวนเหตุการณ์สำคัญ ผู้ป่วยที่เกิดภาวะแทรกซ้อน และผู้ป่วยเสียชีวิต มักสรุปสาเหตุเป็นชื่อโรค และสรุปว่าเสียชีวิตสมเหตุสมผลหรือไม่ แต่ไม่ได้ใช้เป็นเครื่องมือในการตามรอย เพื่อค้นหาโอกาสพัฒนา ค้นหาความเสี่ยงทางคลินิก เช่น Delayed Diagnosis Delayed Treatment การไม่นำผล Investigation มาใช้ประโยชน์อย่างทันเวลา การให้การรักษาโดยผู้ชำนาญน้อยกว่า รวมทั้งการไม่ปฏิบัติตามแนวทางที่วางไว้อย่างเคร่งครัด

  17. 1.การทบทวนทางคลินิก (12 กิจกรรม) • ไม่ได้ใช้เวชระเบียนเป็นเครื่องมือในการทบทวนคุณภาพ การรักษาพยาบาล และค้นหาความเสี่ยงทางคลินิก • เจ้าหน้าที่ในหน่วยงานต่างๆไม่สามารถอธิบายการทบทวน ผู้ป่วยคนเดียวกันอย่างเชื่อมโยงได้ สรุปผลงาน แยกเป็นส่วนๆเฉพาะหน่วยงาน

  18. 2.ระบบบริหารความเสี่ยงและความเสี่ยงทางคลินิก2.ระบบบริหารความเสี่ยงและความเสี่ยงทางคลินิก • การให้คำจำกัดความความเสี่ยง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ความเสี่ยงทางคลินิกไม่ถูกต้อง ไม่ตรงกัน ทำให้ การค้นหาความเสี่ยงได้ข้อมูลสำคัญไม่ครบ • การรายงานความเสี่ยงจากการปฏิบัติงานน้อยกว่า ความเป็นจริง

  19. 2.ระบบบริหารความเสี่ยงและความเสี่ยงทางคลินิก2.ระบบบริหารความเสี่ยงและความเสี่ยงทางคลินิก • ขาดการรวบรวมข้อมูลความเสี่ยงทางคลินิกจากกิจกรรมต่างๆ อย่างเป็นระบบ เข้าสู่ RMC เช่น การทบทวน 12 กิจกรรม การทบทวนเวชระเบียน หรือการ Round Ward ตามปกติ • การจัดบัญชีความเสี่ยง การจัดกลุ่มความเสี่ยง การเน้นความเสี่ยงที่สำคัญ การกำหนด Patient Safety Goal ยังสับสน

  20. 2.ระบบบริหารความเสี่ยงและความเสี่ยงทางคลินิก2.ระบบบริหารความเสี่ยงและความเสี่ยงทางคลินิก • ไม่แสดงให้เห็นประสิทธิภาพการป้องกันการเกิดความเสี่ยงซ้ำ • ไม่แสดงให้เห็นถึงการติดตามความเสี่ยงรายคนหรือรายโรค ซึ่งนำไปสู่การพบจุดอ่อนของระบบงานและการแก้ไขระบบเฉพาะในจุดที่สำคัญ (แนวทางแก้ไขมักเป็นทฤษฎีที่เขียนกว้างๆ) • ชอบอ้างว่าระบบวางไว้ดีแล้ว แต่เกิดจาก Human Error

  21. 3.เครื่องชี้วัด • ขาดเครื่องชี้วัดที่สะท้อนผลงานและคุณภาพการปฏิบัติงาน การรักษาพยาบาล โดยเฉพาะอย่างยิ่งเครื่องชี้วัด ทางคลินิกเฉพาะโรค • ไม่มีการวิเคราะห์เครื่องชี้วัด โดยเฉพาะอย่างยิ่งเครื่องชี้วัด ที่ไม่ได้ผลตามเป้าหมาย เครื่องชี้วัดที่แนวโน้มไม่ดีขึ้น

  22. 3.เครื่องชี้วัด • นำเสนอเครื่องชี้วัดที่ผู้ปฏิบัติไม่รู้วิธีเก็บ • นำเสนอเครื่องชี้วัดที่ไม่ได้นำผลไปใช้ประโยชน์

  23. 4.ระบบยา • จากการเยี่ยมสำรวจหน่วยงาน พบผู้ปฏิบัติไม่เข้าใจ เป้าหมายของระบบ วิธีการปฏิบัติไม่เหมือนกัน • การรายงานความคลาดเคลื่อนทางยายังไม่ครอบคลุม • การกำหนดบัญชียา High Alert Drug ยังไม่ชัดเจน และการปฏิบัติยังไม่เป็นรูปธรรม • การปฏิบัติเรื่องการแพ้ยา การแพ้ยาซ้ำ Drug interaction และ Drug use Evaluation ยังไม่ชัดเจน

  24. 5.คุณภาพการบันทึกเวชระเบียน5.คุณภาพการบันทึกเวชระเบียน • การบันทึกเวชระเบียนของแพทย์ พยาบาล ยังไม่ได้ตรง ตามมาตรฐานวิชาชีพ • ผู้เยี่ยมสำรวจสุ่มเวชระเบียน พบว่า ข้อมูลบันทึก ของ แพทย์และพยาบาลไม่สอดคล้องกัน • การทบทวนเวชระเบียนโดยทีมของโรงพยาบาล ในส่วน บันทึกของแพทย์ไม่ได้ทบทวนโดยแพทย์

  25. 5.คุณภาพการบันทึกเวชระเบียน5.คุณภาพการบันทึกเวชระเบียน • ผู้เยี่ยมสำรวจสุ่มเวชระเบียนผู้ป่วยหนัก ภาวะแทรกซ้อน เสียชีวิต พบจุดอ่อนในระบบการรักษาพยาบาล (เกิดความเสี่ยงทางคลินิก) • บันทึกทางการพยาบาลมีมาก แต่เป็นข้อมูลทั่วๆไปและเป็น Check List ไม่สามารถรวบรวมข้อมูลจากการประเมินทั้งหมดให้เห็นสภาพของผู้ป่วยแต่ละคนอย่างเป็นองค์รวม และบันทึกการเปลี่ยนแปลงในแต่ละช่วงเวลา

  26. 6.การป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ6.การป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ • จากการเยี่ยมสำรวจพบผู้ปฏิบัติไม่เข้าใจเป้าหมายของแนวทางปฏิบัติ การไม่ปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอในงานประจำ • หน่วยงานไม่ได้นำข้อมูลมาวิเคราะห์และพัฒนางาน • ทีม ICC ไม่ได้วิเคราะห์ผลลัพธ์และนำมาบอกแนวโน้ม และวางแนวทางแก้ไข

  27. 6.การป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ6.การป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ • ทีม ICC และทีม PCT ไม่ได้ร่วมกันทบทวนการติดเชื้อ เช่น Sepsis • ระบบการทำให้ปราศจากเชื้อยังกระจัดกระจาย การล้างตามหน่วยงานต่างๆ การจัดสัดส่วนและควบคุมสิ่งแวดล้อมยังไม่ได้มาตรฐาน

  28. 7.โครงสร้างกายภาพและสิ่งแวดล้อม7.โครงสร้างกายภาพและสิ่งแวดล้อม • โครงสร้างกายภาพที่สำคัญ และพอแก้ไขได้ยังไม่ได้รับ การแก้ไข เช่น หน่วยจ่ายกลาง ER L R OR LAB ที่พักขยะ เตาเผาขยะ ระบบบำบัดน้ำเสีย

  29. 7.Competency • ขาดการประเมิน Competency ของแพทย์เวร แพทย์ ER แพทย์Extern, Intern • ขาดการประเมินพยาบาลในหน่วยงานความเสี่ยงสูง ER LR OR ICU • ขาดการประเมินเจ้าหน้าที่ Back office ที่ต้องใช้ความรู้เฉพาะในงานต่างๆ • ขาดการนำผลลัพธ์การปฏิบัติงาน มาประเมินว่าเกี่ยวข้องกับ Competency หรือไม่

  30. คาถาผ่านการรับรอง 1.ผู้อำนวยการเอาจริง และนำทีมได้ 2.แพทย์เข้าร่วมและเป็นผู้นำทีม 3.เจ้าหน้าที่ให้ความร่วมมือ รักองค์กร 4.การทำกิจกรรมของทีม PCT ส่งผลให้การรักษาพยาบาลได้ผลดีขึ้น 5.ประสิทธิภาพระบบบริหารความเสี่ยง ระบบยา การควบคุม และป้องกันการติดเชื้อ 6.นำเสนอรูปธรรมการพัฒนาอย่างต่อเนื่องได้

  31. สวัสดี

More Related