1 / 48

ข้อมูลความท้าทายที่สำคัญประกอบการวางแผนเชิงกลยุทธ์

ข้อมูลความท้าทายที่สำคัญประกอบการวางแผนเชิงกลยุทธ์.  การรักษาที่มีคุณภาพเป็นเลิศมุ่งสู่ระดับนานาชาติ. แผนระยะสั้น ทีมบริหาร/ภาควิชา /Excellence center กำหนด ติดตาม ทบทวนและปรับปรุงผลการรักษาโรคยากที่กำหนดอย่างสม่ำเสมอ : disease management, tracer , fast tract, early intervention

Download Presentation

ข้อมูลความท้าทายที่สำคัญประกอบการวางแผนเชิงกลยุทธ์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ข้อมูลความท้าทายที่สำคัญประกอบการวางแผนเชิงกลยุทธ์ข้อมูลความท้าทายที่สำคัญประกอบการวางแผนเชิงกลยุทธ์

  2. การรักษาที่มีคุณภาพเป็นเลิศมุ่งสู่ระดับนานาชาติการรักษาที่มีคุณภาพเป็นเลิศมุ่งสู่ระดับนานาชาติ • แผนระยะสั้น • ทีมบริหาร/ภาควิชา/Excellence center กำหนด ติดตาม ทบทวนและปรับปรุงผลการรักษาโรคยากที่กำหนดอย่างสม่ำเสมอ: disease management, tracer, fast tract, early intervention • PCT ภาควิชากำหนด ติดตามและรายงานผลการดำเนินงานตามพัฒนาศักยภาพในการรักษาโรคในภาพรวมของภาควิชาให้ได้ตามมาตรฐาน ตามกรอบ HA • PCT ติดตามปรับปรุง โรคที่เป็นความเสี่ยง โดยเชื่อมโยงกับ ระบบความเสี่ยงของโรงพยาบาล ผ่าน morbidity & mortality rate, readmission review • ทีมบริหาร/ภาควิชา/Excellence center หน่วยงาน กำกับติดตามปรับปรุง patient safety goal ที่โรงพยาบาลกำหนด

  3. แผนระยะยาว • พัฒนาศักยภาพในการตรวจรักษาโรคยากอย่างต่อเนื่องให้มีผลการรักษาเทียบเท่านานาชาติ

  4. Indicator • Success rate and complication rate • Disease management, Tracer , fast tract • Core measures of TJC • AMI composite score • Heart failure care composite score • Pneumonia care composite • Antibiotic within 1 hr of cut • Stopping antibiotic within 24 hrs • Patient safety index • การติดเชื้อในโรงพยาบาล SSI, VAP,CR_BSI

  5. การบริการที่สร้างความพึงพอใจและความภักดี • แผนระยะสั้น • ผลการรักษาที่ดีมีผลแทรกซ้อนน้อย • ลด cycle time ในระบบโรงพยาบาลที่สร้างคุณค่ากับผู้ป่วยเช่น • ระบบนัดผู้รับบริการ, lab, OR, consult เป็นต้น • พฤติกรรมการบริการของผู้ให้บริการบุคลากร • SRC, Customer contact requirement, ESB • พัฒนาหน่วยงาน CRM รวมทั้งบริหารจัดการข้อร้องเรียนอย่างรวดเร็ว • นำผลการเรียนรู้ความต้องการของผู้รับบริการมาปรับปรุงกระบวนการบริการ

  6. แผนระยะยาว • เรียนรู้และตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการกลุ่มต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง

  7. Indicator • ร้อยละความพึงพอใจผู้ป่วยใน ผู้ป่วยนอก ผู้ป่วยฉุกเฉิน • ร้อยละของผู้ป่วยที่จะแนะนำให้ผู้อื่นมารักษาต่อที่โรงพยาบาลฯ • ร้อยละของผู้ป่วยที่จะกลับมารักษาต่อเมื่อเจ็บป่วยครั้งต่อไป • ร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับการตรวจตรงตามนัด (-10,+20 นาที) • จำนวนเรื่องร้องเรียน (การรักษาพยาบาล ด้านพฤติกรรมบริการ / การสื่อสาร) • Waiting Time จุดบริการหลัก (นาที) • ผลการดำเนินการข้อร้องเรียน • ปิดแฟ้มทันที ปิดแฟ้ม <7วัน ปิดแฟ้ม<15วัน

  8. ฐานะทางการเงินที่มั่นคงและสามารถพัฒนาต่อได้ • Increased percentage of self pay ปกส refer ประกันชีวิต, ambulatory care, investigate at OPD • ลด waste โดยใช้ principle of lean, complete input of procedure (IPD/OPD) link to financial unit, early intervention/treatment, Defect/complication free • Rational use of drug and medical supply (high cost high volume: evidence based) • Timely Complete and accurate medical record for reimbursement • วิเคราะห์ และปรับปรุง high cost high volume, disease management etc to decrease cost/rw • Audit of medical record for reimbursement

  9. Indicator • Net profit margin** • Current ratio** • Market share** • รายรับค่ารักษาพยาบาลทางบัญชี / รับจริง • อัตราค่ารักษาพยาบาลต่อ 1 adjRW**/reimburse per adjRW • จำนวนคลินิกนอกเวลาราชการเพิ่มขึ้น • จำนวนผู้ป่วยใน (กลุ่มเป้าหมาย) • สัดส่วนความสมบูรณ์ของแฟ้มเวชระเบียน

  10. ด้านบุคลากร • การเพิ่มสมรรถนะของบุคลากรสู่ความเป็นเลิศ/ จัดหาและธำรงรักษาบุคลากร • แผนระยะสั้น • พัฒนาบุคลากรตามแนวทาง Competency (ความสามารถตรวจรักษาโรคซับซ้อนตามแผนกลยุทธ์) • Organize work process สอดคล้อง disease management • ศึกษา key personnel ที่ลาออก เพื่อปรับให้มุ่งเน้นบุคลากรมากขึ้น • แผนระยะยาว • พัฒนาบุคลากรตามแนวทาง Competency รวมถึงความสามารถตรวจรักษาโรคซับซ้อนต่อเนื่อง

  11. จัดหาและธำรงรักษา บุคลากร • แผนระยะสั้น • ประชาสัมพันธ์โรงพยาบาลที่สถาบันการศึกษา (แหล่งผลิตพยาบาล) • ให้ทุนการศึกษาแก่นักศึกษาพยาบาลจ่ายค่าตอบแทนตามผลการปฏิบัติงาน • ปรับปรุงสถานที่ทำงาน • ยกย่องชมเชย ให้รางวัลบุคลากรที่ทุ่มเท • แผนระยะยาว • การจัดหาบุคลากรให้เพียงพอกับภาระงาน • ส่งเสริมความก้าวหน้าในการงาน

  12. การสร้างเสริมสุขภาพบุคลากร ส่งเสริมอาชีวอนามัยและจัดสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาพดี(Healthy workplace) • แผนระยะสั้น • ปรับปรุงสถานที่ทำงานให้มีสุขอนามัย ปลอดภัย มีการป้องกันภัย • ลดการติดเชื้อจากการทำงาน • มีการตรวจสุขภาพบุคลากรกลุ่มเสี่ยงประจำปี • โครงการสร้างเสริมสุขภาพ เช่น กิจกรรม ส่งเสริม 5 อ (อาหาร อากาศ ออกกำลังกาย อารมณ์และอบายมุข)

  13. แผนระยะยาว • การจัดหาบุคลากรให้เพียงพอกับภาระงาน • ส่งเสริมความก้าวหน้าในการงาน • ปรับปรุงสถานที่ทำงานให้มีสุขอนามัย ปลอดภัย อาชีวอนามัยที่จัดสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาพดี (healthy workplace)

  14. indicators • จำนวนบุคลากรที่ได้รับการพัฒนาตามแผน Competency • ร้อยละของบุคลากรที่เพิ่มขึ้นตามความจำเป็นของภาระงาน • จำนวนครั้งการซ้อมแผนอัคคีภัย / แผนป้องกันการก่อการร้าย • จำนวนหน่วยงานที่สำรวจความเสี่ยงด้านกายภาพ • อัตราบุคลากรที่ติดเชื้อวัณโรค • อัตราบุคลากรที่ได้รับอุบัติเหตุเข็มตำ (ครั้งต่อ 100 เตียง) • อัตราบุคลากรติดเชื้อ HIV จากการปฏิบัติงาน • ร้อยละของบุคลากรที่มี BMI เกินมาตรฐานและได้รับการบำบัด • ร้อยละของบุคลากรที่เข้าร่วม One mile walk test • ผลการประเมินสมรรถภาพ (ดี / ดีมาก / ดีเยี่ยม) จำนวนกิจกรรมที่จัด ผลการประเมินสมรรถภาพ (ดี / ดีมาก / ดีเยี่ยม)

  15. ความพึงพอใจของบุคลากรความพึงพอใจของบุคลากร • ความไม่พึงพอใจของบุคลากร ** • อัตราการย้ายออก (% / คน) • สายสอน / บริการ • สายบริการ (พยาบาล) • Labor productivity** • Labor cost competitiveness

  16.  ด้านคุณภาพ • การเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลของกระบวนการรักษาพยาบาลโดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมรวมทั้งการนำหลักการ TQA, HA, Lean มาใช้เป็นแนวทางการบริหารและพัฒนาคุณภาพ • แผนระยะสั้น • Self assessment โดยใช้ frame work HA ในกระบวนการรักษาพยาบาล ระบบที่สำคัญ • กำหนดแนวทางและติดตามการตรวจรักษาโรคให้เป็นมาตรฐาน (CPG) โรคยาก โรคที่พบบ่อย โรคที่เป็นปัญหา • นำระบบสารสนเทศมาพัฒนากระบวนการรักษาและกระบวนการสนับสนุน • กำหนดให้ทุกหอผู้ป่วยมี Discharge Planning ในโรคที่มีปัญหาในการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน • มี Utilization Review สำหรับครุภัณฑ์ที่ราคาเกิน 5 ล้านบาท, Reimbursement< DRG • ทบทวนการรักษาผู้ป่วยที่อยู่โรงพยาบาลเกิน 1 เดือน • ส่งเสริมภาควิชามี Quality / Effciency Round

  17. แก้ไข / ปรับปรุงในจุดที่เป็นปัญหารวมทั้งสื่อสารและถ่ายทอดสู่บุคลากร • แผนระยะยาว • ประเมินตนเองตามแนวทาง HA / TQA • โครงการ สปสช ที่ Reimbursement ต่ำ

  18. indicators • จำนวนวันนอนโรงพยาบาล • จำนวน CPG** • จำนวน Discharge Planning (สะสม) • ร้อยละของครุภัณฑ์ที่ราคาเกิน 5 ล้านบาท ที่มี Utilization Review • ร้อยละของภาควิชาที่มี Quality / Efficiency Round(KPI ภาควิชา) • อัตราการทบทวนการรักษาผู้ป่วยกรณีที่อยู่รพ.เกิน1 เดือน • อัตราการจองต่อการใช้เลือด (C:T ratio) • ประสิทธิภาพการใช้ห้องผ่าตัด(ในเวลา) • อัตราการครองเตียง ICU

  19. อัตราค่ารักษาพยาบาลต่อ 1 RW** • อัตราการครองเตียง • อัตราการครองเตียงผู้ป่วย PRIVATE หอผู้ป่วย ฉบ. 11 หอผู้ป่วย ฉบ.12 • Inventory turnover** • จัดการสำรวจ Internal Survey ปีละ 1 ครั้ง • ผ่านการสำรวจ Surveillance survey • จำนวนหน่วยงานที่มีการสื่อสารและถ่ายทอดอย่างเป็นระบบ

  20. บูรณาการรักษาพยาบาล การเรียนการสอนและการวิจัย ให้ไปในทิศทางเดียวกัน และส่งเสริมซึ่งกันและกัน • แผนระยะสั้น • พัฒนาระบบสารสนเทศด้านรักษาพยาบาลที่เอื้อต่อการวิจัย การบริการ การเก็บเงิน การเรียนการสอน • นำ evidence based มาปรับปรุงประสิทธิภาพการบริการรักษาพยาบาลเพื่อส่งเสริมการเรียนการสอน • นำงานวิจัยของภาควิชามาปรับประสิทธิภาพการบริการรักษาพยาบาลเพื่อส่งเสริมการเรียนการสอน • R to R square ระหว่างสายสอน/บริการกับสายบริการ

  21. การชี้นำชุมชนด้านสุขภาพการชี้นำชุมชนด้านสุขภาพ • แผนระยะสั้น • โครงการให้ความรู้และเงินสนับสนุนแก่ชุมชน • สนับสนุนให้โรงพยาบาลในภาคใต้ตอนล่างมีการพัฒนาด้านคุณภาพ • จัดกิจกรรมให้ความรู้แก่ประชาชนผ่านเวทีสุขภาพ • ส่งเสริมความช่วยเหลือเฉาะกลุ่มโรค • แผนระยะยาว • สร้างความเข้มแข็งด้านการส่งเสริมสุขภาพให้แก่ชุมชน

  22. indicators • จำนวนโครงการหรือกิจกรรมจำนวนผู้เข้าร่วมโครงการหรือกิจกรรมจำนวนเงินสนับสนุน** • จำนวนโรงพยาบาลที่เข้าร่วมโครงการพัฒนาคุณภาพภาคใต้ : จำนวนที่ผ่านการประเมินในแต่ละระดับ*- จำนวน รพ.(สะสม)- ผ่านบันไดขั้น 1- ผ่านบันไดขั้น 2- ได้รับ HA (สะสม) • จำนวนครั้ง / ผู้เข้าร่วมกิจกรรมเวทีสุขภาพความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรมเวทีสุขภาพ

  23. บูรณาการรักษาพยาบาล การเรียนการสอนและการวิจัย ให้ไปในทิศทางเดียวกัน และส่งเสริมซึ่งกันและกัน • แผนระยะสั้น • พัฒนาระบบสารสนเทศด้านรักษาพยาบาลที่เอื้อต่อการวิจัย • นำ evidence based มาปรับปรุงประสิทธิภาพการบริการรักษาพยาบาลเพื่อส่งเสริมการเรียนการสอน • นำงานวิจัยของภาควิชามาปรับประสิทธิภาพการบริการรักษาพยาบาลเพื่อส่งเสริมการเรียนการสอน • R to R square ระหว่างสายสอน/บริการกับสายบริการ

  24. Indicator • ความสมบูรณ์ Medical record • จำนวน CPG • จำนวน Clinical tracer ของภาควิชา(KPI ภาควิชา) • จำนวนโครงการวิจัยที่นำมาปรับประสิทธิภาพการรักษาพยาบาล (R to R square) • จำนวนงานวิจัยที่ร่วมกันทำระหว่างสายสอน/บริการกับสายบริการ • จำนวนโครงการวิจัยที่เกิดจากการงานประจำ (KPI รองฯ รพ.+ฝ่ายวิจัย)

  25. หมวด 1 การนำองค์กร • ปรับปรุงกระบวนการสื่อสารเฉพาะการสื่อสารไปยังอาจารย์ภาควิชาต่างๆโดยเฉพาะการตัดสินใจทีสำคัญ ความร่วมมือ • การเตรียมการในเชิงรุกในเรื่องความกังวลของสาธารณะ การใช้ทรัพยากรที่คุ้มค่า • การนำผลการประเมินผู้นำระดับสูงไปปรับปรุง

  26. หมวด 2 การวางแผนเชิงกลยุทธ์ • การได้มาของข้อมูลและสารสนเทศที่ใช้ในการจัดทำกลยุทธ์ • ปัญหาการถ่ายทอดแผนปฏิบัติการระดับโรงพยาบาลไปยังหน่วยงาน • และภาควิชา เพื่อนำไปปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรมและมั่นใจว่าได้ผล • ยังไม่ชัดเจนในการกำหนดให้มี KPIรายบุคคล • การคาดการณ์ผลการดำเนินการ แผนอัตรากำลังและขีดความสามารถของบุคคลากรเพื่อให้บรรลุตามแผน

  27. หมวด 3 การมุ่งเน้นลูกค้าและตลาด • วิธีการฟังเสียงลูกค้าที่เหมาะเฉพาะกลุ่มผู้รับบริการ • การได้มาของผู้รับริการที่ต้องการให้มาใช้บริการ • การสร้างความสัมพันธ์กับลูกค้าได้เพียงบาง segment • พัฒนา service recovery processให้ครอบคลุมทุกจุด เป๊น Best practice และเน้นย้ำให้ปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอรวมถึงการใช้ข้อมูลย้อนกลับมาปรับปรุง

  28. หมวด 4 การจัด วิเคราะห์ และการจัดการความรู้ • การใช้ข้อมูลสารสนเทศเชิงเปรียบเทียบ • ยังไม่มีการวิเคราะห์เชิงสัมพันธ์ • การนำ Best practice ไปใช้

  29. หมวด 4 การวัด วิเคราะห์ และการจัดการความรู้ (ต่อ) • ยังไม่ชัดเจนในการรวบรวม Knowledge Asset • รวมทั้งการนำไปใช้ในการพัฒนาบุคลากรและวางแผนเชิงกลยุทธ์ • ยังไม่มีการนำความรู้ Tacit Knowledgeจากบุคลากรที่ลาออก • หรือเกษียณอายุ มาใช้ในการพัฒนาบุคลากร

  30. หมวด 5 มุ่งเน้นบุคลากร • การสร้างการประเมินความผูกพันควรแยกกลุ่มย่อย • การนำข้อมูลความผูกพันของบุคลากรแยกตามกลุ่มมาใช้ • และตอบสนองเพื่อเพิ่มความผูกพัน • การพัฒนาบุคลากรตามความสามารถพิเศษขององค์กร • (core competency) และสอดคล้องตามแผนกลยุทธ์ขององค์กร • การจัดอัตรากำลังให้เหมาะสม สอดคล้องกับการพัฒนา • และการเพิ่มศักยภาพในการให้บริการ

  31. หมวด 5 การมุ่งเน้นบุคลากร (ต่อ) • การพัฒนาศักยภาพผู้นำระดับกลางยังไม่ครอบคลุม • ในส่วนฝ่ายบริการพยาบาล • การประเมินผลการเรียนรู้ตาม Kirkpatrick model ยังไม่ครอบคลุม • ระบบการให้สวัสดิการยังไม่แยกตามกลุ่มตามความคาดหวังของบุคลากร • ปรับปรุงสถานที่ทำงานให้มีสุขอนามัย ปลอดภัย เพื่อเตรียมเข้าสู่ • มาตรฐาน มอก.18001 ด้านอาชีวอนามัย

  32. หมวด 6 การจัดการกระบวนการ • ระบบงานสำคัญของโรงพยาบาลยังมีปัญหา • เช่น ระบบกำจัดขยะ ระบบการควบคุมการติดเชื้อ เป็นต้น • กำกัดให้ทุกหน่วยงานปรับปรุงการดำเนินการ (PDCA) ทุกระบบ • การใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ประกอบการตัดสินใจ • ในการรักษาพยาบาล • Lean Healthcare

  33. หมวด 7 ผลลัพธ์ธุรกิจ • ขาดข้อมูลเชิงเปรียบเทียบ selection of KPI • ขาด integrate process 1-6 กำกับแต่ละ KPI • ขาดข้อมูล segmentation

  34. การรักษาที่เป็นเลิศ • Evidence-based Treatment/CPG • Cross functional team • Integrate work of different departments based on patient flow • Benchmarking

  35. Proposed indicators • AMI composite score (94.4%) • Providing aspirin at arrival • Prescribing aspirin at discharge • ACE inhibitor/ARB at discharge • Providing smoking cessation advice • Prescribing beta-blocker at arrival • Prescribing beta-blocker at discharge • Fibrinolytic within 30 minutes of arrival • PCI within 90 minutes of arrival

  36. Heart failure care composite(84.1%) • Providing discharge instruction • Providing LV function assessment • Prescribing ACE inh./ARB at discharge • Providing smoking cessation at discharge

  37. Pneumonia care composite(87.3%) • Pneumococcal screening/vaccine • Assessed and given influenza vaccine • Measuring oxygen in blood • Antibiotic within 6 hrs • Given most appropriate antibiotic • Given smoking cessation advice • Blood culture before antibiotic

  38. Antibiotic within 1 hr of cut • CABG • For cardiac surgery • For colon surgery • For hip joint replacement therapy • For hysterectomy patient • For knee joint surgery • For vascular surgery

  39. Stopping antibiotic within 24 hrs • CABG • For cardiac surgery • For colon surgery • For hip joint replacement therapy • For hysterectomy patient • For knee joint surgery • For vascular surgery

  40. ความเป็นเลิศด้านบุคคลากรความเป็นเลิศด้านบุคคลากร • สร้างระบบเรียนรู้ความต้องการของบุคลากรโดยแยกกลุ่มคน งาน • ตอบสนองต่อปัจจัยที่สร้างความผูกพัน/พึงพอใจ/ผลการดำเนินการที่ดี • Empower ในงาน/การสร้างนวตกรรม • Workforce capactity/capability • เลื่อนขั้น ก้าวหน้าในงาน โดยใช้ R2R square วิจัย • ยกย่องชมเชย/ค่าตอบแทน integrate ระหว่างงาน

  41. ความเป็นเลิศด้านการบริการความเป็นเลิศด้านการบริการ • การรักษาที่มีคุณภาพปลอดภัย/early/no complication • กำกับ customer contact requirement/SRP/complaint magement • ตอบสนองต่อปัจจัยที่สร้างความพึงพอใจ/ภักดี/กล่าวถึงที่ดี • การแยก segment

  42. ความเป็นเลิศด้านการเงินความเป็นเลิศด้านการเงิน • ลด muda โดย Lean principle/six sigma • ปรับระบบให้ตอบสนองลูกค้าที่ต้องการให้มาซื้อบริการ • Rational use of high cost /volume drug/medical material • Enhance reimburse • Good complete medical record (pay?) • Timely • Audit

  43. ความเป็นเลิศด้านบริหารจัดการความเป็นเลิศด้านบริหารจัดการ • TQA/HA frame work • Lean/six sigma frame work • BSC • Benchmarking • Kaizen • KM

  44. การสนับสนุนชุมชนที่สำคัญการสนับสนุนชุมชนที่สำคัญ

  45. ขอน้อมรับข้อเสนอแนะ ในการบริหารงาน

  46. แผนกลยุทย์โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ 51-52

More Related