1 / 36

โดย นายแพทย์ สัญชัย ปิยะพงษ์กุล นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี

เด็กอุดร ต้องพัฒนา IQ. โดย นายแพทย์ สัญชัย ปิยะพงษ์กุล นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี. สถานการณ์เด็ก 0-5 ปี. 104. 98. 91. 88. 2539-2540 2544. 96.5. 94.7. 94.6. 93.3. 91.9. 89.7. 88.8. 88.0. 88.1. 87.9. 85.9. 84.2. กทม. กลาง. อีสาน. ใต้. รวม. เหนือ.

Download Presentation

โดย นายแพทย์ สัญชัย ปิยะพงษ์กุล นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เด็กอุดร ต้องพัฒนาIQ โดย นายแพทย์ สัญชัย ปิยะพงษ์กุล นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี

  2. สถานการณ์เด็ก 0-5ปี

  3. 104 98 91 88

  4. 2539-2540 2544 96.5 94.7 94.6 93.3 91.9 89.7 88.8 88.0 88.1 87.9 85.9 84.2 กทม. กลาง อีสาน ใต้ รวม เหนือ

  5. ระดับ IQ เฉลี่ย เด็กเขตอำเภอเมืองและชนบท จำแนกตามกลุ่มอายุจังหวัดอุดรธานี 104.92 103.92 95.82 93.99 90.66 89.52 ข้อมูล Rapid survey 2551

  6. ระดับ EQ เด็กเขตอำเภอเมืองและชนบท จำแนกตามกลุ่มอายุ จังหวัดอุดรธานี 56.01 52.99 49.26 48.66 48.21 47.57 ข้อมูล Rapid survey 2551

  7. ระดับ IQ EQเฉลี่ย เด็กเขตอำเภอเมืองและชนบท จังหวัดอุดรธานี 97.48 97.23 52.83 48.43 ข้อมูล Rapid survey 2551

  8. สถานการณ์การขาดไอโอดีนสถานการณ์การขาดไอโอดีน พื้นที่ อำเภอ ตำบล จังหวัดอุดรธานี

  9. ปี 2550 ระดับความรุนแรงIDD Levels ( WHO/ICCDD Non IDD(0.0-2.9%) Mild (3.0-19.9%) Moderate(20.0-39.9%) Severe(40.0-100%)

  10. แผนที่ภาวะการขาดสารไอโอดีน รายตำบล,จังหวัดอุดรธานี ปี 2551 “เด็กอุดรขาดไอโอดีน,ไอคิวมีปัญหา, นายก อบต. ช่วยได้” ระดับความรุนแรงขาดสารไอโอดีน มาก ปานกลาง น้อย ปกติ ท่านนายก อบต. ช่วยสนับสนุนงบประมาณ • หญิงวัยเจริญพันธ์ • หญิงตั้งครรภ์ • เด็ก 0-5 ปี • เด็กวัยเรียน เป้าหมาย

  11. ภาวะขาดสารไอโอดีนในเด็กแรกเกิด รายอำเภอ หนองคาย N นายูง 38.1 อ.ท่าบ่อ สร้างคอม 25.1 บ้านดุง น้ำโสม เลย 28.9 เพ็ญ 33.6 บ้านผือ 29.1 31.7 ทุ่งฝน 17.4 27.6 พิบูลย์รักษ์ กุดจับ 35.5 หนองหาน เมือง 30.3 27.2 สกลนคร หนองวัวซอ หนองบัวลำภู ไชยวาน กู่แก้ว 30.0 ก.ประจักษ์ 25.7 Mild ( 3.0-19.9%) กุมภวาปี หนองแสง 14.6 วังสามหมอ 21.0 Moderate ( 20.0-39.9%) ศรีธาตุ โนนสะอาด 22.8 32.9 32.2 ปี 2552 กาฬสินธุ์ ขอนแก่น

  12. WHO / ICCIDD Classification of IDD Severity ความชุกของ TSH >5 mU/L ในทารกแรกเกิด Non IDD (ไม่ขาดไอโอดีน) น้อยกว่าร้อยละ 3.0 Mild IDD (ขาดเล็กน้อย) ร้อยละ 3.0 – 19.9 Moderate IDD (ขาดปานกลาง) ร้อยละ 20.0 –39.9 Severe IDD (ขาดรุนแรง) มากกว่าร้อยละ 40.0

  13. สรุปพื้นที่ขาดไอโอดีนสรุปพื้นที่ขาดไอโอดีน

  14. คุณ รู้หรือไม่ • พื้นที่ขาดไอโอดีน เด็ก IQ ลดลง 13.5 จุด • หญิงตั้งครรภ์ขาดไอโอดีน เด็ก IQ ลดลง 30 จุด • แม่ที่มีโรคพร่องธัยรอยด์ฮอร์โมนเด็ก IQ น้อยกว่า 85 • เด็กแรกเกิดที่พร่องธัยรอยด์ฮอร์โมน IQ ลดเหลือ 70-80 ทันที

  15. ลดการขาดไอโอดีน เพิ่ม IQ เป้าประสงค์ เด็กอุดรมี IQ 97 พื้นที่ขาดไอโอดีน IQ เด็กลดลง 13.5 หญิงตั้งครรภ์ขาดไอโอดีน IQ เด็กลดลง 30 แม่มีภาวะพร่องธัยรอยด์ฮอร์โมน เด็กมี IQ น้อยกว่า 85 หญิงวัยเจริญพันธุ์และ หญิงตั้งครรภ์มีภาวะขาดไอโอดีน เด็กแรกเกิดขาดไอโอดีน เด็กวัยเรียนขาดไอโอดีน 1. หญิงตั้งครรภ์ เด็กในศูนย์เด็ก นักเรียนประถม ตรวจปัสสาวะมีไอโอดีน 10 µg/dl 2.เด็กแรกเกิดTSH>11.25 mU/Lไม่เกิน10% 3.เด็กแรกเกิด TSH >25 mU/L ไม่เกิน 4 ราย ติดตามรักษาภายใน 13 วัน ดูแลพัฒนาการถึง 6 ปี 4. พื้นที่ขาดไอโอดีน 4.1 ระดับอำเภอ * ระดัยรุนแรง ไม่มี * ระดับปานกลาง ไม่เกิน 5 อำเภอ 4.2 ระดับตำบล * ระดับรุนแรง ไม่มี * ระดับปานกลางไม่เกิน 50 ตำบล • โครงการตำบลต้นแบบ “ปลอดจากการขาดไอโอดีน” • - ฝากท้องเร็ว • ความรู้ การป้องกันการขาดไอโอดีน • เฝ้าระวังภาวะขาดไอโอดีนในช่วงตั้งครรภ์ • เด็ก0-5ปี เด็กวัยเรียน หญิงวัยเจริญพันธ์ • -ผลักดันมาตรการสังคม “การบริโภคไอโอดีน” • ขับเคลื่อนแหล่งผลิต จำหน่ายเกลือไอโอดีนคุณภาพ • หมู่บ้านต้นแบบ “ ปลอดจากการขาดไอโอดีน” กลยุทธ์ ส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อให้เกิดวัฒนธรรมชุมชน มิติประชาชน กลยุทธ์ 1.สนับสนุนจัดทำแผนฯโดยใช้ งบท้องถิ่น 2.สร้างค่านิยม “ การบริโภคไอโอดีน” 3.สนับสนุนการใช้มาตรการ ป้องกันและควบคุมการขาดไอโอดีน 4. สนับสนุนสื่อสารความเสี่ยง - จัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์งาน ไอโอดีน -เชิดชูเกียรติบุคคลต้นแบบ”ฝากท้องเร็ว” - เชิดชูเกียรติหมู่บ้านต้นแบบ ตำบลต้นแบบ โรงเรียน “ปลอดจากการขาดไอโอดีน” - พัฒนาคุณภาพบริการ MCH - สื่อสารสุขภาพ เรื่อง ไอโอดีน มิติภาคีเครือข่าย กลยุทธ์ 1 สร้างเสริมรูปแบบ/มาตรฐาน 2.พัฒนาสมรรถนะภาคีเครือข่าย 3.สร้างระบบติดตามประเมินผล • รูปแบบบริหารจัดการแก้ปัญหา การขาดไอโอดีน • รูปแบบหมู่บ้าน“ปลอดจากการขาดไอโอดีน” • - สัมมนาวิชาการอนามัยแม่และเด็ก และไอโอดีน • อบรมเฝ้าระวังภาวะการขาดไอโอดีนในหญิงตั้งครรภ์ เด็ก0-5 ปี • การติดตาม กำกับ ประเมินผล มิติกระบวนการ กลยุทธ์ 1 พัฒนาระบบสารสนเทศ 2.เสริมสร้างสมรรถนะบุคคลากร 3.สร้างวัฒนธรรม ทำงานเป็นทีม มิติพื้นฐาน • พัฒนาฐานข้อมูล งานไอโอดีน • พัฒนาวิชาการ ไอโอดีน • สร้างต้นแบบ “วัฒนธรรมทำงานเป็นทีม ”

  16. แนวทางการดำเนินงาน สถานบริการ (รพศ. รพท. รพช. สอ) ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ บริการที่มีคุณภาพ ตรวจคัดกรองทารกแรกเกิด ติดตามรักษา. เสริมเกลือไอโอดีน น้ำดื่มไอโอดีน วิตามินเสริมไอโอดีนในหญิงตั้งครรภ์ ไข่ไอโอดีน อปท. 1.จัดทำแผนแก้ไขปัญหาไอโอดีนโดยใช้ งบท้องถิ่น 2.สร้างค่านิยม “ การบริโภคไอโอดีน” 3.สนับสนุนการใช้มาตรการ ป้องกันและควบคุมการขาดไอโอดีน 4.รณรงค์ป้องกันการขาดสารไอโอดีน 5.สนับสนุน เกลือไอโอดีน น้ำดื่มไอโอดีน ปลูกผักไอโอดีน ไข่ไอโอดีน น้ำปลาไอโอดีน ปลาร้าไอโอดีน กลุ่มเป้าหมาย หญิงวัยเจริญพันธุ์ หญิงตั้งครรภ์ เด็ก0-5ปี เด็กวัยเรียน ศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่ อาหารกลางวันปรุงด้วยเกลือเสริมไอโอดีน น้ำดื่มไอโอดีน ผักไอโอดีน ไข่ไอโอดีน โรงเรียน ประชาสัมพันธ์และให้ความรู้ อาหารกลางวันปรุงด้วยเกลือเสริมไอโอดีน น้ำดื่มไอโอดีน ปลูกผักไอโอดีน ไข่ไอโอดีน เลี้ยงไก่ไข่ไอโอดีน

  17. มาตรการควบคุมป้องกันการขาดสารไอโอดีนมาตรการควบคุมป้องกันการขาดสารไอโอดีน

  18. เกลือเสริมไอโอดีน • เกลือเสริมไอโอดีน 5 กรัม (30-50 พีพีเอมไอโอดีน) • มีไอโอดีน 150 – 250 ไมโครกรัม • ปกติคนเราบริโภคเกลือประมาณวันละ 5 กรัม หรือ ครึ่ง ช้อนชา • ถ้าใช้เกลือเสริมไอโอดีนที่ได้มาตรฐานจะได้ไอโอดีนเพียงพอต่อความต้องการของร่างกายในแต่ละวัน • ลงทุน 1 ครอบครัวใช้เกลือ 3ก.ก./ปี ราคา 30 บาท

  19. น้ำปลา ซีอิ๊วเสริมไอโอดีน • น้ำปลาเสริมไอโอดีน - ตราสามแม่ครัว - ตราเด็กสมบูรณ์ - ตราเทสโก้โลตัส - ตราชัยฉลอง - ตราปลาอ้วน • ซีอิ๊วขาวเสริมไอโอดีน

  20. ไข่ไอโอดีน • ไข่ไก่ (ไอโอดีน) : ไข่ไก่ทั่วไปในจังหวัดอุดรธานี มี ไอโอดีน 36 ไมโครกรัม/ฟอง ไข่ไก่ (ไอโอดีน) ตำบลนาพู่ อำเภอเพ็ญ มีไอโอดีน 97.76 ไมโครกรัม/ฟอง • ลงทุนอาหารเสริมไอโอดีนไก่ไข่ 55 บาท x 365 วัน = 20,075 บาท)

  21. ผักสดไอโอดีน ผักสด(ไอโอดีน) ตำบลนาพู่ อำเภอเพ็ญ 100 กรัมน้ำหนักสด มีไอโอดีน 153 ไมโครกรัม ลงทุนน้ำพ่นผักไอโอดีน 15 บาท x 52 สัปดาห์/แปลง = 780 บาท

  22. บะหมี่กึ่งสำเร็จรูปทุกยี่ห้อ ได้เติมสารไอโอดีนในซองเครื่องปรุงรสซองบะหมี่ โดยเติมในปริมาณ 50 ไมโครกรัม

  23. น้ำดื่มเสริมไอโอดีน • เสริมสารไอโอดีนในน้ำดื่ม ดำเนินการในบางพื้นที่โรงเรียน ตชด. - หมู่บ้านชาวเขา - พื้นที่ห่างไกล • พื้นที่ที่มีปัญหาขาดไอโอดีนระดับรุนแรง • โดยใช้สารละลายโปแตสเซียมไอโอเดท หยดในน้ำดื่มของโรงเรียน หรือครัวเรือน ของพื้นที่ที่มีปัญหาโรคขาดสารไอโอดีน เมื่อดื่มน้ำวันละ 1 ลิตร จะได้รับสารไอโอดีนประมาณ 150 - 200 ไมโครกรัม

  24. ยาเม็ดเสริมไอโอดีน • ยาเม็ดเสริมไอโอดีนจ่ายหญิงตั้งครรภ์ 1 เม็ด มีไอโอดีน 200 ไมโครกรัม • ราคาเม็ดละ 1.676 บาท รับประทานวันละ 1 เม็ดนาน 6 เดือน เป็นเงิน 300 บาทต่อคน

  25. ปลาร้าเสริมไอโอดีน • ปลาร้าเสริมไอโอดีน ; ปลาร้า 100 กรัม มีไอโอดีนประมาณ 3000-5000 ไมโครกรัม แหล่งผลิต ผู้จำหน่าย ผลิตปลาร้าเสริมไอโอดีนเขื่อนอุบลรัตน์ ปลาร้าเป็นผลิตภัณฑ์อาหารหมักพื้นบ้านโดยเฉพาะภาคอีสาน งานวิจัย คุณสมบูรณ์ ชินบุตร ศูนย์อนามัยที่ 6

  26. หมู่บ้านต้นแบบไอโอดีนหมู่บ้านต้นแบบไอโอดีน บ้านข้าวสาร ตำบลข้าวสาร อำเภอบ้านผือ จังหวัดอุดรธานี

  27. ปัจจัยสู่ความสำเร็จ • นายกองค์การบริหารส่วนตำบลข้าวสารให้ความสำคัญกับการแก้ไขปัญหาโดยกำหนดนโยบายและมาตรการการดำเนินงานอย่างจริงจัง • องค์การบริหารส่วนตำบลข้าวสารสนับสนุนปลาร้าเสริมไอโอดีนให้แก่ประชาชน จำนวน 7 กิโลกรัม/เดือน • ในกรณีที่ประชาชนมีการเดินทางไปอยู่ที่อื่น จะได้รับแจกเกลือเสริมไอโอดีน คนละ 3 กิโลกรัม • ร้านค้าในตำบลข้าวสารทุกแห่งมีเกลือเสริมไอโอดีนจำหน่าย • อสม. มีการให้ความรู้และประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับสารไอโอดีนแก่ประชาชน • เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลบ้านผือ มีระบบติดตามผู้ที่ขาดสารไอโอดีน โดยมีการส่งจดหมายถึง อสม./สถานีอนามัย ให้ติดตามเฝ้าระวัง และสนับสนุนเกลือเสริมไอโอดีนกลุ่มเสี่ยงทุกราย

  28. นวัตกรรมที่ดำเนินการ • ภูมิปัญญาชาวบ้านจัดทำน้ำปลาร้าเสริมไอโอดีนรับประทานเอง • มีการขยายผลการดำเนินงานสู่หมู่บ้าน/ตำบลข้างเคียง

  29. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานีสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี "ส่งเสริมให้คนไทยสุขภาพดี"

More Related