1 / 50

เทคนิคการสอนในระดับอุดมศึกษา

เทคนิคการสอนในระดับอุดมศึกษา. การอบรมทักษะการสอน อาจารย์วิทยาลัยชุมชนตราด 1 6 กรกฎาคม 2553 โดย รศ. เฉลา ประเสริฐสังข์. การสอนคืออะไร..?. การบอกให้รู้เนื้อหาวิชา..? การทำให้ดูตามแบบอย่าง..? กระบวนการจัดกิจกรรมเพื่อให้เกิดการเรียนรู้..?. การสอนเป็นทั้งศาสตร์และศิลป์ ต้องใช้ทักษะ

Download Presentation

เทคนิคการสอนในระดับอุดมศึกษา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เทคนิคการสอนในระดับอุดมศึกษาเทคนิคการสอนในระดับอุดมศึกษา การอบรมทักษะการสอน อาจารย์วิทยาลัยชุมชนตราด 16 กรกฎาคม 2553 โดย รศ. เฉลา ประเสริฐสังข์

  2. การสอนคืออะไร..? • การบอกให้รู้เนื้อหาวิชา..? • การทำให้ดูตามแบบอย่าง..? • กระบวนการจัดกิจกรรมเพื่อให้เกิดการเรียนรู้..? การสอนเป็นทั้งศาสตร์และศิลป์ ต้องใช้ทักษะ และเทคนิค 2

  3. ข้อคำถามสำหรับครู-อาจารย์ข้อคำถามสำหรับครู-อาจารย์ • ท่านสอนใคร..? • ท่านสอนอะไร..? • ท่านสอนอย่างไร..? 3

  4. ท่านสอนใคร..? สอนหนังสือ หรือสอนคน การสอนหนังสือ จะมุ่งเน้นเนื้อหาวิชา การสอนคน จะมุ่งส่งเสริมพัฒนาคนทั้งด้านจิตใจ ร่างกายและสมอง พรบ.การศึกษาแห่งชาติ(ม.6)..การศึกษาต้องมุ่ง พัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ 4

  5. องค์ประกอบของความเป็นมนุษย์องค์ประกอบของความเป็นมนุษย์ มนุษย์มีส่วนประกอบสำคัญ 3ส่วน ร่างกาย สร้างคุณค่าทางกาย มนุษย์ จิตใจ สร้างคุณค่าทางจิตใจ สมอง สร้างคุณค่าทางสมอง การสอนคนจึงต้องมุ่งให้เกิดการพัฒนาคนทั้ง 3ด้าน 5 5

  6. เป้าหมายการสอนคือสร้างคุณภาพของผู้เรียนเป้าหมายการสอนคือสร้างคุณภาพของผู้เรียน ภูมิธรรม ภูมิรู้ ภูมิฐาน การเรียนรู้ การเรียนรู้ คุณภาพนักศึกษา การเรียนรู้ 6

  7. ผู้สอนจึงต้องมีความเข้าใจคนผู้สอนจึงต้องมีความเข้าใจคน ผู้สอนจึงต้องเข้าใจผู้เรียน ผู้สอนต้องรู้ธรรมชาติของผู้เรียน ผู้สอนต้องเข้าใจตนเอง ต้องรู้ศักยภาพของตนเอง คน2 คนที่ต้องเข้าใจคือผู้เรียน และผู้สอน 7

  8. ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับผู้เรียนข้อเท็จจริงเกี่ยวกับผู้เรียน ทุกคนสามารถเรียนรู้ฝึกฝนได้ ทุกคนมีศักยภาพในตัวเอง ทุกคนใฝ่ดี ต้องการพัฒนา ทุกคนมีศักดิ์ศรี มีเกียรติ ทุกคนต้องการแต่สิ่งดี ๆ ทุกคนมีความแตกต่างกัน 8

  9. สภาพปัญหาเกี่ยวกับคุณภาพนักศึกษาสภาพปัญหาเกี่ยวกับคุณภาพนักศึกษา ผลสำรวจเยาวชน 3,360 คนระดับประถม-อุดมศึกษา • ร้อยละ 24 ท่องอักษร ก–ฮ ไม่ได้ • ร้อยละ 43ออกเสียงควบกล้ำไม่ได้ • ร้อยละ 32สะกดภาษาไทยผิดประจำ • ร้อยละ 56มีปัญหาฝึกคิดคำยาก ๆ • ร้อยละ 53มีปัญหาวิชาเรียงความ • ร้อยละ 43เห็นว่าคนไทยขี้โกง ฯลฯ 9

  10. ข้อเท็จจริงคุณภาพคนไทย...?ข้อเท็จจริงคุณภาพคนไทย...? • ข้อเท็จจริงบางประการเกี่ยวกับคนไทย -นักการเมืองโกงกิน..? -ข้าราชการคอรัปชั่น..? -พ่อค้าฉกฉวยผลประโยชน์..? -คนในสังคมงมงาย..? -เยาวชนหลงใหลอบายมุข..? -ครู-อาจารย์..? “สะท้อนถึงคุณภาพคน ซึ่งเป็นผลผลิตจากระบบการศึกษา” 10

  11. คุณภาพต่ำ -ใจแคบ -คิดใกล้ -ใฝ่ต่ำ คุณภาพสูง -ใจกว้าง -คิดไกล -ใฝ่สูง ภาพรวมคุณภาพคนไทย กระบวนการสอน/เรียนรู้ 11

  12. ความเข้าใจจิตสำนึกแห่งครู-อาจารย์ความเข้าใจจิตสำนึกแห่งครู-อาจารย์ • ครูคือวิศวกรมนุษย์...ผู้สร้างคน “ ครูคือเทียนทองส่องสว่าง ท่ามกลางความมืดมัวหม่น ครูคือปูชนียบุคคล ปวงชนยกย่องศรัทธา ” 12

  13. อุดมการณ์และจิตวิญญาณของความเป็นครูอุดมการณ์และจิตวิญญาณของความเป็นครู 1.รักศรัทธาและรักษาเกียรติภูมิแห่งศักดิ์ศรีวิชาชีพ 2.ปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพครู 3.ศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมเพื่อพัฒนาตนเองอยู่เสมอ 4.มีความเข้าใจศิษย์และมีความรักเมตตาต่อศิษย์ 5.ช่วยเหลือเกื้อกูลเพื่อนร่วมงานสร้างความสามัคคีใน หมู่คณะ 6.ตระหนักในคุณค่าความเป็นครู“ผู้สร้างคน” 13

  14. ลักษณะของครู • คุณลักษณะของครูพันธุ์ใหม่ 10 ประการ 1.มีความรู้ความเข้าใจ เครื่องมือแสวงหาความรู้ เพื่อพัฒนาตนเอง 2.มีความเข้าใจเรื่องการเรียนรู้ และพัฒนาการของเด็ก 3.มีความเข้าใจความแตกต่าง ของผู้เรียน 4.มียุทธวิธีหลากหลายในการสอนกระตุ้นให้เด็กคิด 5.สามารถสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ กระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความกระตือรือร้น 14

  15. ลักษณะของครู(ต่อ) 6.มีความสามารถในการสื่อสาร เลือกใช้ถ้อยคำที่เหมาะสมและสามารถอธิบายเรื่องที่ยาก ๆ ได้ 7.วางแผนการสอนสอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน 8.สามารถประเมินผลการเรียน แบบองค์รวม 9.มีเมตตาธรรม และรักศรัทธาในอาชีพครู 10.สร้างสัมพันธภาพที่ดี กับผู้เรียนและชุมชน 15

  16. การสอน..สอนอะไร การสอน(จัดกิจกรรมการเรียนรู้) ต้องประกอบด้วย 3เรื่อง 1.สอนวิชาการ 2.สอนวิชางาน 3.สอนวิชาคน 16

  17. การสอน สอนอย่างไร..? ระดับมาตรฐานคุณภาพของการสอน 5 ระดับ คือ ระดับ 1 การสอนตรง : มุ่งเน้นเนื้อหา ระดับ 2 การสอนอธิบาย : มุ่งขยายความเพิ่มเติม ระดับ 3 การสอนคิด : มุ่งเน้นกระบวนการ ระดับ 4 การสอนสร้าง : มุ่งเน้นการลงมือทำ ระดับ 5 การสอนค้นพบ :มุ่งเน้นการสร้างสรรค์ 17

  18. พฤติกรรมที่เกิดจากการสอน(การเรียนรู้) 3 มิติ • พฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย(Cognitive Domain) หมายถึงความรู้ ความคิดของบุคคล • พฤติกรรมด้านจิตพิสัย( Affective Domain) หมายถึงสภาพจิตใจ อารมณ์ ความรู้สึก • พฤติกรรมด้านทักษะพิสัย(Psychomotor Domain) หมายถึงการกระทำ ทักษะทางกาย 18

  19. ความสามารถเรียนรู้ของมนุษย์ความสามารถเรียนรู้ของมนุษย์ การฟัง(20) การได้เห็น(30) การได้พูด(70) การได้ลงมือทำ(90) 19

  20. เทคนิคการสอนแบบต่าง ๆ *การสอนแบบบรรยาย 1. เป็นการสอนที่มุ่งเน้นเนื้อหาสาระความรู้ 2. ผู้เรียนมีส่วนร่วมน้อย 3. บรรยากาศในการเรียนน่าเบื่อหน่าย เครียด 4. มีประสิทธิผลน้อย แต่ครูส่วนมากชอบใช้ 20

  21. การสอนแบบศึกษาค้นคว้าการสอนแบบศึกษาค้นคว้า 1. มุ่งให้ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้าตามความสนใจ 2. มุ่งฝึกให้ผู้เรียนคิดเชื่อมโยง สรุปประเด็นนำเสนอ 3.ผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบสูงเกิดวินัยการเรียน 4. บรรยากาศการเรียนท้าทาย ตื่นเต้น น่าสนใจ 5. ผู้เรียนมีอิสระและส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ 21

  22. การสอนการคิดวิเคราะห์การสอนการคิดวิเคราะห์ *นำเหตุการณ์หรือกรณีต่างๆที่เกิดขึ้นมาฝึกคิดวิเคราะห์ 1. มุ่งเน้นฝึกกระบวนการคิด 2. ฝึกการแยกแยะประเด็นต่าง ๆเป็นประเด็นย่อย ๆ 3. ฝึกทักษะการเปรียบเทียบเชื่อมโยง การประเมินค่า 4. ฝึกการระดมความคิดร่วมกัน 5. ผู้เรียนตื่นตัว และสนใจการเรียน 22

  23. ทักษะที่เป็นพื้นฐานการคิดทักษะที่เป็นพื้นฐานการคิด การสอนการคิดต้องส่งเสริมให้เกิดทักษะต่อไปนี้ 1. การสังเกต-สำรวจ 2. การตั้งคำถาม 3. การรวบรวมข้อมูล 4. การจำแนกเปรียบเทียบ 5. การตีความ-เชื่อมโยง 23

  24. รูปแบบการคิดที่สำคัญ รูปแบบของการคิดที่ควรสอนให้เกิดขึ้นกับผู้เรียน -การคิดเชิงวิเคราะห์ - การคิดเชิงสังเคราะห์ -การคิดเชื่อมโยง -การคิดเชิงกลยุทธ์ -การคิดสร้างสรรค์ 24

  25. การสอนพัฒนากระบวนการทางปัญญาการสอนพัฒนากระบวนการทางปัญญา * เป็นการจัดกระบวนการเรียนรู้(การสอน)เพื่อมุ่งฝึกให้ผู้เรียนพัฒนากระบวนทางปัญญา 10 ประการ 1. การฝึกสังเกต:ฝึกให้สังเกตสิ่งที่พบเห็นรอบ ๆตัว ทำให้เป็นคนสนใจ ตื่นตัวต่อสภาพแวดล้อม เป็นการเปิดโลกทัศน์มุมมองใหม่ ๆ 2. การฝึกบันทึก:เมื่อสังเกตเห็นอะไรแล้วควรจดบันทึกวาดรูป ถ่ายภาพ เป็นการสะสมข้อมูล 25

  26. การสอนพัฒนากระบวนการทางปัญญา(ต่อ)การสอนพัฒนากระบวนการทางปัญญา(ต่อ) 3. การฝึกนำเสนอ: ฝึกให้จัดระบบความคิดและข้อมูลตามที่บันทึกไว้แล้วนำเสนอต่อกลุ่มด้วยการพูดเป็นการพัฒนาปัญญาและทักษะการพูด 4. ฝึกการฟัง:การฟังมากทำให้รู้ข้อมูล และรู้จักแยกแยะข้อมูลแล้วจดจำได้มากขึ้น ฟังมากก็รู้มาก 26

  27. การสอนพัฒนากระบวนการทางปัญญา(ต่อ)การสอนพัฒนากระบวนการทางปัญญา(ต่อ) 5. ฝึกปุจฉา-วิสัชนา:เมื่อมีการนำเสนอและการฟังแล้วถ้าหากมีประเด็นสงสัยต้องถาม-ตอบ ซึ่งเป็นการใช้เหตุและผลเพื่อวิเคราะห์ประเด็นปัญหานั้น 6. ฝึกตั้งสมมติฐาน:เป็นการคิดและการคาดคะเนคำตอบว่าสิ่งนั้นเกิดจากอะไร นำไปสู่ผลลัพธ์ใดหรือจะทำให้สำเร็จได้อย่างไร 27

  28. การสอนพัฒนากระบวนการทางปัญญา(ต่อ)การสอนพัฒนากระบวนการทางปัญญา(ต่อ) 7. ฝึกการค้นหาคำตอบ :เมื่อมีประเด็นคำถามแล้วต้อง ค้นหาคำตอบจากหนังสือ-ตำราหรือสอบถามผู้รู้ หรือค้นหาทางอินเตอร์เน็ต 8. ฝึกการวิจัย :เป็นการฝึกหาคำตอบอย่างเป็นระบบและกระบวนการจากข้อสงสัย สมมติฐานของปัญหาด้วยการทดลองจนได้ข้อสรุป 28

  29. การสอนพัฒนากระบวนการทางปัญญา(ต่อ)การสอนพัฒนากระบวนการทางปัญญา(ต่อ) 9. ฝึกเชื่อมโยงบูรณาการ : เป็นการเชื่อมโยงบูรณาการข้อมูลจากการคิดวิเคราะห์อย่างละเอียดถี่ถ้วนจนได้ประเด็นที่เป็นองค์รวมของข้อมูลจนนำไปสู่การตัดสินใจ 10. การเรียบเรียงวิชาการ:เป็นกระบวนการสร้างองค์ความรู้ จัดระบบข้อมูล นำเสนอข้อมูลและความคิดที่ประณีตมากขึ้นจนเป็นเอกลักษณ์ของตนเอง 29

  30. การสอนแบบฝึกระดมสมอง - เป็นการสอนเพื่อมุ่งให้ผู้เรียนพัฒนาทักษะการคิด - เป็นการเรียนรู้ผ่านกระบวนการกลุ่ม - เป็นการเรียนรู้คิดแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ร่วมกัน - เป็นการเรียนรู้ผ่านการแลกเปลี่ยนความคิดระหว่างกัน - ผู้เรียนตระหนักถึงความสำคัญของความคิดผู้อื่น - ฝึกการพูดการคิดและการตัดสินใจร่วมกัน 30

  31. การสอนด้วยกระบวนการกลุ่มการสอนด้วยกระบวนการกลุ่ม จุดมุ่งหมาย เพื่อฝึกทักษะการทำงานร่วมกันและเกิดความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน ขั้นตอนกระบวนการกลุ่ม มี 4 ขั้น 1. ขั้นนำเสนอสถานการณ์ 2. ขั้นการอภิปรายแลกเปลี่ยน ความคิดเห็น 3. ขั้นสรุปกฎเกณฑ์ 4. ขั้นการประยุกต์ไปใช้ 31

  32. การสอนแบบกรณีศึกษา(Case Study) * เป็นวิธีการสอนที่ผู้สอนนำประเด็น หรือเรื่องราวเหตุการณ์กรณีใดกรณีหนึ่งมาให้ผู้เรียนได้ศึกษาวิเคราะห์ เพื่อแสดงความคิดเห็นหรือสรุปประเด็นของเรื่อง ประโยชน์หรือข้อดีของเรื่องนั้น หรือผลเสียจากเรื่องนั้น * เป็นการสอนที่ฝึกทักษะการคิดและการเชื่อมโยงจากเรื่องนั้นกับชีวิตจริงและเหตุการณ์จริง * กรณีที่นำมาศึกษา ควรเป็นเรื่องที่อยู่ในความสนใจขณะนั้น 32

  33. ผลลัพธ์ในภาพรวมจากการสอนผลลัพธ์ในภาพรวมจากการสอน ผู้เรียนพัฒนาสู่การเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ เป็นคนดี เป็นคนเก่ง มีความสุขในการดำเนินชีวิต 33

  34. ภาพอะไรในขวด 34

  35. ภาพอะไรเอ่ย 35

  36. ทฤษฎีการเรียนรู้ 1. ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบClassic ของ Pavlov การเรียนรู้เกิดจากการวางเงื่อนไข - ใช้สิ่งเร้ามาเป็นเงื่อนไข - สิ่งเร้ากระตุ้นการตอบสนอง - เกิดการเชื่อมโยงสิ่งเร้า - เกิดพฤติกรรมการเรียนรู้ 36

  37. รูปแบบการทดลอง 37

  38. ขั้นตอนการวางเงื่อนไขขั้นตอนการวางเงื่อนไข ขั้นก่อนการวางเงื่อนไข ขั้นระหว่างวางเงื่อนไข ขั้นหลังการวางเงื่อนไข 38

  39. ไม่ตอบสนอง สิ่งเร้า 1 สิ่งเร้า 2 ตอบสนอง สิ่งเร้า 1+2 ตอบสนอง รูปแบบการเชื่อมโยง S-R สิ่งเร้า1 ตอบสนอง (เกิดการเรียนรู้) 39

  40. ลงมือทำ สำเร็จ (รางวัล) ลงมือทำ รางวัล 2. ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบOperant Conditioning การเรียนรู้เกิดจากการลงมือปฏิบัติแล้วประสบผลสำเร็จ ได้รางวัล รางวัลก็จะเป็นเงื่อนไขให้ปฏิบัติต่อไป (เกิดการเรียนรู้) 40

  41. รูปแบบการทดลองและผลการทดลองรูปแบบการทดลองและผลการทดลอง รางวัล/สิ่งเสริมแรง คือเงื่อนไขของการเรียนรู้ 41

  42. ความสำเร็จ/รางวัล... สิ่งเสริมแรง -การเสริมแรงทำให้เกิดการเรียนรู้ได้ดี -การเสริมแรงที่เหมาะสม นำไปสู่การเรียนรู้ที่ดี -การเสริมแรงมีทั้ง เสริมแรงบวกและเสริมแรงลบ -สิ่งเสริมแรงภายใน ย่อมดีกว่าสิ่งเสริมแรงภายนอก 42

  43. วิธีแก้ปัญหา 1 ปัญหา วิธีแก้ปัญหา 2 วิธีแก้ปัญหา 3 วิธีแก้ปัญหา 4 3. ทฤษฎีการเรียนรู้แบบลองผิดลองถูกของThorndike การลองผิดลองถูก หรือการได้ลงมือทำผิดบ้าง ถูกบ้าง จะทำให้เกิดการเรียนรู้ สามารถแก้ปัญหา (สามารถแก้ปัญหาได้...เกิดการเรียนรู้) 43

  44. รูปแบบการทดลอง 44

  45. กฎการเรียนรู้ของธอร์นไดค์กฎการเรียนรู้ของธอร์นไดค์ • กฎแห่งความพร้อม(Law of Readiness) • กฎแห่งการฝึกฝน (Law of Exercise) • กฎแห่งผล (Law of Effect) 45

  46. 4. ทฤษฎีการเรียนรู้ทางความคิดของKohler การเรียนรู้เกิดจากกระบวนการทางความคิดในการเชื่อมโยงสถานการณ์ต่าง ๆ เข้าด้วยกันโดยอาศัยประสบการณ์ จนทำให้เกิดความเข้าใจจนกำหนดวิธีการแก้ปัญหาได้ “Insight Learning” 46

  47. ปัจจัยที่เอื้อให้เกิดการคิดปัจจัยที่เอื้อให้เกิดการคิด • ให้ได้รับประสบการณ์มาก ๆ • สิ่งเร้า – สถานการณ์เหมาะสม • ปัจจัยภายในตัวผู้เรียน • ศักยภาพทางสมอง 47

  48. สรุปสาระทั้งหมดที่นำเสนอสรุปสาระทั้งหมดที่นำเสนอ 1. สาระทั้งหมดคือองค์ความรู้(มิติทางปัญญา)ทำให้ท่านรู้และเข้าใจแง่คิดทางจิตวิทยา 2. เกิดความตระหนักเห็นความสำคัญ(มิติทางจิตใจ) นำไปปรับปรุงพัฒนาจิตใจตน 3. นำไปปฏิบัติในกิจกรรมการเรียนการสอน(มิติทางกาย) เกิดทักษะ..เป็นครูไทยที่พึงประสงค์ 48

  49. คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของครูไทยคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของครูไทย คุณภาพ คุณวุฒิ การปฏิบัติ งานสอน ความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ ลักษณะครูดี คุณธรรม จรรยาบรรณ วิชาชีพ 49

  50. สวัสดีครับ

More Related