540 likes | 1.87k Views
ฉลากอาหาร. ชัญญานุช ปานนิล นักโภชนาการชำนาญการ ศูนย์อนามัยที่ 6. ฉลากอาหาร. คือ ข้อมูลคุณค่าทางโภชนาการของผลิตภัณฑ์อาหาร. ส่วนที่ 1 หน่วยบริโภค และ จำนวน หน่วย บริโภค ส่วนที่ 2 ช่วงที่ 1 คุณค่าทางโภชนาการและพลังงาน ช่วงที่ 2 ปริมาณสารอาหาร และร้อยละ
E N D
ฉลากอาหาร ชัญญานุช ปานนิล นักโภชนาการชำนาญการ ศูนย์อนามัยที่ 6
ฉลากอาหาร คือ ข้อมูลคุณค่าทางโภชนาการของผลิตภัณฑ์อาหาร ส่วนที่ 1 หน่วยบริโภค และ จำนวนหน่วยบริโภค ส่วนที่ 2 ช่วงที่ 1 คุณค่าทางโภชนาการและพลังงาน ช่วงที่ 2 ปริมาณสารอาหาร และร้อยละ ช่วงที่ 3 ปริมาณวิตามินและเกลือแร่ ส่วนที่ 3 สารอาหารต่างๆ ต่อพลังงาน 2000 กิโลแคลอรี่
กินครั้งละ 1 แท่ง ตัวอย่างส่วนที่ 1 ข้อมูลโภชนาการ หนึ่งหน่วยบริโภค :1 แท่ง ( 50 กรัม) จำนวนหน่วยบริโภคต่อ แท่ง : 1
ตัวอย่างส่วนที่ 1 ข้อมูลโภชนาการ หนึ่งหน่วยบริโภค :1 ห่อ ( 50 กรัม) จำนวนหน่วยบริโภคต่อ ห่อ : 5 ในหนึ่งซองต้องแบ่งรับประทาน 5 ครั้ง
ตัวอย่างส่วนที่ 2 ช่วงที่ 1 คุณค่าทางโภชนาการต่อหนึ่งหน่วยบริโภค พลังงานทั้งหมด 100 กิโลแคลอรี่ (พลังงานจากไขมัน 45 กิโลแคลอรี่ )
ตัวอย่าง ส่วนที่ 2 ช่วงที่ 2 ร้อยละของปริมาณที่แนะนำต่อวัน* ไขมันทั้งหมด 12 ก. 18 % ไขมันอิ่มตัว 6 ก. 30 % โคเลสเตอรอล 0 มก. 0 % โปรตีน 7 ก. คาร์โบไฮเดรตทั้งหมด 36 ก.12% ใยอาหาร 2 ก. 8 % น้ำตาล 2 ก. โซเดียม 1500 มก. 62 %
ตัวอย่างส่วนที่ 2 ช่วงที่ 2 • สารอาหารที่น้อยกว่าร้อยละ5 จัดว่า “ต่ำ” • *สารอาหารที่ค่าร้อยละ20 ขึ้นไปจัดว่า”สูง” ร้อยละของปริมาณที่แนะนำต่อวัน* ไขมันทั้งหมด 12 ก. 18 % ไขมันอิ่มตัว 6 ก. 30% โคเลสเตอรอล 0 มก. 0 % โปรตีน 7 ก. คาร์โบไฮเดรตทั้งหมด36 ก. 12% ใยอาหาร 2 ก. 8 % น้ำตาล 11 ก. โซเดียม 1500 มก. 62% จำกัด สารอาหาร เหล่านี้ เพราะ ไม่ดีต่อ สุขภาพ ใน 1 วัน ไม่ควรกิน น้ำตาลเกิน 24 กรัม
ตัวอย่าง ส่วนที่ 2 ช่วงที่ 3
สัญลักษณ์ทางโภชนาการแบบ GDA GDAคือ การแสดงค่าพลังงาน น้ำตาล ไขมัน และโซเดียม บนฉลากด้านหน้าบรรจุภัณฑ์ โดยแสดงปริมาณ สารอาหารต่อหน่วยบรรจุภัณฑ์ เช่น ซอง ถุง กล่อง
ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข อาหาร 5 ชนิด • มันฝรั่งทอดกรอบหรืออบกรอบ • 2. ข้าวโพดคั่วหรืออบกรอบ • 3. ข้าวเกรียบหรืออาหารขบเคี้ยวชนิดอบพอง • 4. ขนมปังกรอบหรือแครกเกอร์หรือบิสกิต • 5. เวเฟอร์สอดไส้
ประกาศฉบับนี้ บังคับใช้ ตั้งแต่ วันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ.2554 และให้ใช้ฉลากเดิมที่เหลืออยู่ต่อไปได้ ไม่เกินวันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ.2555
สัญลักษณ์ทางโภชนาการแบบ GDA แสดงไว้ด้านหน้าบรรจุภัณฑ์
สัญลักษณ์ทางโภชนาการแบบ GDA หน่วยบรรจุภัณฑ์ เช่น กล่อง ซอง ห่อ แสดงจำนวนครั้งที่แนะนำให้กิน ช่วงที่ 1 แสดงข้อความ ช่วงที่ 2 แสดงปริมาณ ช่วงที่ 3 แสดงร้อยละ
สัญลักษณ์ทางโภชนาการแบบ GDA * ค่าพลังงานเป็นกิโลแคลอรี * คิดเป็นร้อยละเทียบกับพลังงาน 2,000 กิโลแคลอรี • ปริมาณน้ำตาล ไขมัน เป็นกรัม และโซเดียมเป็นมิลลิกรัม •แสดงร้อยละโดยคิดเป็นร้อยละของปริมาณสูงสุดที่บริโภค ได้ต่อวัน
สัญลักษณ์ทางโภชนาการแบบ GDA แสดงฉลาก GDA ดังนี้ 60 6 30 0.5 3 9 1 1
การคำนวณปริมาณน้ำตาล ใน 1 วัน ไม่ควรบริโภคน้ำตาลเกิน 24กรัม น้ำตาล 4กรัม = 1 ช้อนชา น้ำตาล 24 กรัม = 24 = 6ช้อนชา 4
อาหารที่มีโซเดียม • อาหารธรรมชาติ • 2. อาหารแปรรูปหรือการถนอมอาหาร • 3.เครื่องปรุงรสชนิดต่างๆ • 4. ผงชูรส • 5. อาหารกระป๋องต่างๆ • 6. อาหารกึ่งสำเร็จรูป • 7. ขนมต่างๆ ที่มีการเติมผงฟู • 8.น้ำและเครื่องดื่ม
การคำนวณปริมาณโซเดียมการคำนวณปริมาณโซเดียม โซเดียม (กรัม) = มิลลิกรัม (มก.) 400 2,400 = เกลือแกง 6 กรัม 400 เกลือแกง 5 กรัม = 1 ช้อนชา เกลือแกง 1 ช้อนชา มีโซเดียม 2,000 มก. ใน 1 วันควรบริโภคโซเดียม น้อยกว่า 2,400มก.
การคำนวณปริมาณน้ำมัน การคำนวณปริมาณน้ำมัน ใน 1 วัน ไม่ควรบริโภคน้ำมันเกิน 30กรัม น้ำมัน 5กรัม = 1 ช้อนชา น้ำมัน 30กรัม = 30 = 6ช้อนชา 5
การคำนวณปริมาณแอลกอฮอล์ การคำนวณปริมาณแอลกอฮอล์ ปริมาตร(ซีซี) x เปอร์เซ็นต์แอลกอฮอล์ x 7 100 พลังงาน =……….Kcal. เหล้าขาว 1 ขวดเล็ก ปริมาตร 450 ซีซี(40%) 450 (ซีซี) x 40 x 7 100 พลังงาน = 1260 Kcal. แอลกอฮอล์ 1 กรัม ให้พลังงาน 7 กิโลแคลอรี่