1 / 35

รายวิชา 729102 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์

รายวิชา 729102 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์. C h a p t e r 1 – Computer System. จุดประสงค์การเรียนรู้. บอกความหมาย และประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ได้ เข้าใจลักษณะการทำงานของคอมพิวเตอร์ - แบ่งแยกลักษณะของคอมพิวเตอร์เป็นแบบต่าง ๆ ได้. การใช้งานคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน.

dana-sutton
Download Presentation

รายวิชา 729102 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. รายวิชา 729102 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ C h a p t e r 1 – Computer System

  2. จุดประสงค์การเรียนรู้จุดประสงค์การเรียนรู้ • บอกความหมาย และประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ได้ • เข้าใจลักษณะการทำงานของคอมพิวเตอร์ - แบ่งแยกลักษณะของคอมพิวเตอร์เป็นแบบต่าง ๆ ได้

  3. การใช้งานคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันการใช้งานคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน • งานด้านวิทยาศาสตร์เราสามารถนำคอมพิวเตอร์มาใช้ประโยชน์เกี่ยวกับการคำนวณที่ค่อนข้างซับซ้อน งานศึกษาโมเลกุลเคมี หรืองานทะเบียน สถิติ

  4. การใช้งานคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันการใช้งานคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน • เป็นอุปกรณ์ในการตรวจรักษาโรคซึ่งจะให้ผลที่แม่นยำและยังทำให้การรักษาเป็นไปได้

  5. การใช้งานคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันการใช้งานคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน • งานธุรกิจงานอุตสาหกรรม จะนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการควบคุมการผลิต เช่น การใช้หุ่นยนต์หรือ คอมพิวเตอร์มาควบคุมการผลิต

  6. การใช้งานคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันการใช้งานคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน • เราได้นำคอมพิวเตอร์มาใช้ประโยชน์ในการสร้างภาพยนตร์ เพลง หนังสือ สิ่งพิมพ์ โฆษณา ผลิตสื่อต่าง ๆ

  7. การใช้งานคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันการใช้งานคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน • กราฟิก ตกแต่งภาพให้คมชัด • การค้า รหัสแถบแท่ง • พลังงาน สำรวจหาแหล่งน้ำมัน • การขนส่ง การจองตั๋ว • งานหนังสือพิมพ์ พิมพ์แก้ไข • การเงิน เครื่อง ATM • การเกษตร ตรวจสอบราคาตลาด • รัฐบาล การพยากรณ์อากาศ • การศึกษา การเตรียมชีทบรรยาย • ในบ้าน การเขียนจดหมาย • สุขภาพและการแพทย์ การทดสอบ • หุ่นยนต์ ทำงานในโรงงาน • วิทยาศาสตร์ การคำนวณ • การฝึกอบรม การฝึกอบรมนักบิน • การติดต่อของมนุษย์ ช่วยคนที่พิการ

  8. ความหมายของคอมพิวเตอร์ความหมายของคอมพิวเตอร์ “ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ถูกโปรแกรมให้รับข้อมูล (Input) เพื่อนำไปประมวลผล (Process) เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ (Output) ตามที่ต้องการ และสามารถเก็บข้อมูลเพื่อใช้ในครั้งต่อไป” • มาจากภาษาละตินว่า Computare ซึ่งหมายถึง เครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์ ที่ใช้กระแสไฟฟ้าในการทำงาน ซึ่งสามารถนำมาประยุกต์ใช้งานในการแก้ปัญหาที่ง่ายและซับซ้อน โดยวิธีทางคณิตศาสตร์ เพื่อช่วยให้การทำงานรวดเร็ว ถูกต้อง แม่นยำ

  9. ลักษณะสำคัญของคอมพิวเตอร์ลักษณะสำคัญของคอมพิวเตอร์ • มีความเร็วในการประมวลผลสูง (Speed) • มีการทำงานที่ถูกต้องเชื่อถือได้ (Reliability) • มีความถูกต้องแม่นยำ (Accurate) • จัดเก็บข้อมูลได้มาก (Storage capacity) • สามารถย้ายข้อมูลจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งได้อย่างรวดเร็ว (Transferring Information)

  10. ข้อดีของคอมพิวเตอร์ • ผลผลิตมาก (Productivity) • ประกอบการตัดสินใจ (Decision Making) • ลดค่าใช้จ่าย (Cost Reduction) • ง่ายต่อการติดต่อสื่อสาร (Easy Communication) • เพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน (Work Efficiency) • ตอบสนองความต้องการ (Satisfaction) • ไม่ลำเอียง (Satisfaction) • ไม่จำกัดสถานที่ (Portability)

  11. ข้อเสียของคอมพิวเตอร์ข้อเสียของคอมพิวเตอร์ • ขึ้นกับผู้เขียนโปรแกรม • ใช้เวลาในการเรียนรู้ • แย่งงาน / แทนที่การทำงานของมนุษย์ • เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคมอย่างรวดเร็ว • สร้างพฤติกรรมก้าวร้าว • ปัญหาสุขภาพ • ข่าวสารข้อมูลมีมากเกินไป (Information Flood) • การรับข่าวสารเก่าและการเข้าถึงข่าวสาร • ปัญหาผู้ก่อความไม่สงบ

  12. กว่าจะมาเป็นคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันกว่าจะมาเป็นคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน เกี่ยวข้องกับคณิตศาสตร์ ส่วนแสดงผล ส่วนประมวลผล ระบบเลขฐานสอง 0,1 ส่วนนำข้อมูลเข้า ตรรกศาสตร์ หน่วยความจำ

  13. ระบบคอมพิวเตอร์ (Computer System) SOFTWARE HARDWARE PEOPLEWARE INFORMATION

  14. องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ • พีเพิลแวร์ (Peopleware)หมายถึง บุคคลประเภทต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ ทั้งทางตรงและอ้อม เช่น ผู้ใช้โปรแกรม (user) โปรแกรมเมอร์ (programmer)นักออกแบบระบบ (system designer) • ข้อมูลและสารสนเทศ (Data / Information) ข้อมูล คือ ข้อเท็จจริงต่าง ๆ หรือข้อมูลดิบต่าง ๆ โดยข้อมูลเหล่านี้จะถูกจัดส่งให้คอมพิวเตอร์ เพื่อจัดเก็บ และประมวลผลออกมาเป็นสารสนเทศ ที่สามารถนำไปใช้ต่อเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดได้ • ฮาร์ดแวร์ (Hardware)คือ เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ เป็นอุปกรณ์ทางกายภาพที่สามารถจับต้องได้ • ซอฟต์แวร์ (Software) คือ โปรแกรมหรือชุดคำสั่งที่สั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงาน ถ้าไม่มีส่วนนี้คอมพิวเตอร์จะไม่สามารถทำงานได้

  15. ส่วนนำข้อมูลเข้า INPUT หน่วยประมวลผล PROCESSOR ส่วนแสดงผลข้อมูลออก OUTPUT หน่วยความจำ MEMORY โครงสร้างหลักของเครื่องคอมพิวเตอร์

  16. หน่วยประมวลผลกลาง CPU อุปกรณ์นำข้อมูลเข้า INPUT Device อุปกรณ์นำข้อมูลออก OUTPUT Device ส่วนควบคุมControl Unit ส่วนคำนวณทางคณิตศาสตร์และตรรกศาสตร์ ALU หน่วยความจำหลัก Memory หน่วยความจำรอง Storage โครงสร้างหลักของเครื่องคอมพิวเตอร์

  17. องค์ประกอบต่าง ๆ ของคอมพิวเตอร์ รับข้อมูลเข้า (Input Device) เก็บข้อมูล (Storage Device) ประมวลผล (Processing Device) แสดงผลลัพธ์ (Output Device)

  18. ประเภทของคอมพิวเตอร์ แบ่งตามขนาดและราคาเครื่อง • ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ (Supercomputer) • เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe) • มินิคอมพิวเตอร์ (Minicomputer) • เวิร์คเตชัน (Workstation) • ไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer) • พีดีเอ (PDA – Personal Digital Assistant) • คอมพิวเตอร์แบบฝัง (Embedded computers)

  19. ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ (Supercomputer) • เป็นคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุด ทำงานได้รวดเร็วและมีประสิทธิภาพสูง มีความสามารถในการประมวลผลสูงมาก • เหมาะกับงานที่มีความซับซ้อนสูงมาก เช่น งานอุตสาหกรรมน้ำมัน การคำนวณเพื่อพยากรณ์อากาศ เป็นต้น • ราคาแพงมาก ต้องติดตั้งในที่ ๆ มีการปรับอุณหภูมิ ปราศจากฝุ่นละออง • ประสิทธิภาพการทำงาน จะวัดเป็น กิกะฟลอป (Gigaflop) – การคำนวณหนึ่งพันล้านครั้งของการคำนวณตัวเลขระดับทศนิยมต่อหนึ่งวินาที • ตัวอย่าง ของคอมพิวเตอร์แบบนี้ คือ CRAY-2 CRAY-T90

  20. ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ (Supercomputer)

  21. เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe) • เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดใหญ่และประสิทธิภาพรองลงมา และเป็นที่นิยมตามองค์กรขนาดใหญ่ มีราคาแพงรองลงมา นิยมนำมาใช้ในงานที่มีการรับและแสดงผลข้อมูลจำนวนมาก โดยมากจะถูกนำไปใช้ในหน่วยงานประเภทที่ให้บริการแก่คนจำนวนมาก เช่น ธนาคาร มหาวิทยาลัย เป็นต้น • ประสิทธิภาพการทำงานของเครื่องจะวัดเป็น เมกะฟลอป (Megaflop) หรือการคำนวณหนึ่งล้านครั้งของการคำนวณตัวเลขระดับทศนิยมต่อหนึ่งวินาที

  22. เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe) จาก http://www.tup.ac.th/main/a_knowledge_source/it-m1/page3-5.html

  23. เครื่องโฮส จอเทอร์มินัล เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe) ต่อ • โดยทั่วไปแล้วระบบการทำงานของเครื่องประกอบด้วยคอมพิวเตอร์ย่อย ๆ เพื่อช่วยในการทำงานแก่เครื่องหลักได้แก่ • เครื่องโฮส (Host processor) เป็นเครื่องหลักที่มีหน้าที่ควบคุมหน่วยประมวลผล อุปกรณ์รอบข้างและการคำนวณต่าง ๆ • เครื่องส่วนหน้า (Front-end processor)มีหน้าที่ควบคุมการติดต่อระหว่างหน้าจอของ ผู้ใช้งาน ที่เรียกว่าจอเทอร์มินัลระยะไกล (Remote terminal) กับระบบ เครื่องโฮส

  24. มินิคอมพิวเตอร์ (Minicomputer) • คล้ายกับเครื่องเมนเฟรมแต่ขนาดเล็กกว่า ราคาถูกกว่า • ความเร็วในการประมวลผลช้ากว่า สื่อการเก็บข้อมูลต่าง ๆ ความจุน้อยกว่าเมนเฟรม • ใช้งานได้พร้อมๆกันหลายคน -เครื่องปลายทางต่อเชื่อมได้ • ประมวลผลในของหน่วยงานขนาดกลาง • งานควบคุมผลผลิต • งานบัญชีและการเงิน • งานออกแบบทางวิศวกรรม

  25. มินิคอมพิวเตอร์ มินิคอมพิวเตอร์ (Minicomputer)

  26. เวิร์คเตชัน(Workstation) • เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์แบบชนิดใช้คนเดียว จะถูกควบคุมโดยผู้ใช้โดยตรง โดยไม่ต้องไปแย่งเวลา โพรเซสเซอร์ กับคนอื่นสามารถใช้ควบคุมอุปกรณ์รอบข้างอื่น ๆ ได้ เป็นคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ • ส่วนมากใช้ในงานเกี่ยวกับ วิศวกรรม สถาปัตยกรรม อาจมีชื่อเรียกอีกอย่างว่า ซูเปอร์ไมโคร (Supermicro) • ตัวอย่างคอมพิวเตอร์ประเภทนี้ คือ Sun Workstation

  27. เวิร์คเตชัน(Workstation) Sun Workstation

  28. ไมโครคอมพิวเตอร์(Microcomputer)ไมโครคอมพิวเตอร์(Microcomputer) • มีขนาดเล็ก ราคาถูก เป็นที่นิยมง่าย • เหมาะสำหรับใช้งานเฉพาะบุคคล งานด้านการจัดการทั่วไป เช่นการพิมพ์ การเก็บข้อมูลขนาดเล็ก • เชื่อมต่อในเครือข่ายได้

  29. ไมโครคอมพิวเตอร์ Microcomputer (Desktop)

  30. โน้ตบุค Microcomputer (Laptop)

  31. พีดีเอ (PDA – Personal Digital Assistant) • มีขนาดเล็กมาก สามารถวางบนฝ่ามือได้ และอาจจะใช้ปากกาที่เรียกว่า สไตล์ลัส (Sytylus) เพื่อเขียนข้อความบนจอภาพเพื่อป้อนข้อมูลเข้าเครื่อง • ความสามารถเกือบเทียบเท่า PC • ต่อ internet ได้ เล่นเพลงได้ หรือแม้แต่ใช้เป็นโทรศัพท์ไร้สายได้ด้วย • ตัวอย่าง ได้แก่ PalmVX, Handspring(Visor),PoketPC(HP)

  32. พีดีเอ (PDA – Personal Digital Assistant)

  33. คอมพิวเตอร์แบบฝัง (Embedded computers) • เป็นคอมพิวเตอร์ที่ถูกฝังไว้ในอุปกรณ์ต่าง ๆ ทำให้มองไม่เห็นจากรูปลักษณ์ภายนอกว่าเป็นอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ นิยมใช้ในการทำงานเฉพาะด้าน เพื่อควบคุมการทำงานบางอย่าง • เช่น เตาอบไมโครเวฟ นาฬิกาข้อมือบางประเภท มือถือ เป็นต้น

  34. เอกสารอ้างอิง • จรัสศรี รุ่งรัตนาอุบล (2548). คอมพิวเตอร์สารสนเทศขั้นพื้นฐาน (เอกสารประกอบการสอน). มหาวิทยาลัยนเรศวร • วาสนา สุขกระสานติ (2543). โลกของคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพ ฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. • วัชราภรณ์ สุริยาภิวัฒน์ (2543). คอมพิวเตอร์เบื้องต้นและการเขียนโปรแกรมขั้นพื้นฐาน. (พิมพ์ครั้งที่ 23). กรุงเทพ ฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. • ศรีไพร ศักดิ์รุ่งพงศากุล (2544). เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ. กรุงเทพ ฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น. • ประศาสตร์ บุญสนอง (2544). ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์. (พิมพ์ครั้งที่ 4.) พิษณุโลก : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยนเรศวร. • Larry Long, Nancy Long (1997). Introduction to Computers and Information Systems. (5th ed.). Upper Saddle River, N.J. : Prentice-Hall International. • Peter Norton (2003). Introduction to Computers. (5th ed. International ed.). Sigapore : McGraw – Hill Companies.

More Related