1 / 53

การพัฒนาระบบราชการ

การพัฒนาระบบราชการ. 12 ก.ย.48. การพัฒนาระบบราชการ. แนวคิดและการดำเนินงานในช่วงสองปีที่ผ่านมา การจัดโครงสร้างการบริหารราชการแผ่นดิน - บูรณาการแนวดิ่งและแนวนอน การปรับปรุงโครงสร้างกระทรวง ทบวง กรม การบริหารรัฐกิจแนวใหม่ - จากวิสัยทัศน์/ประเด็นยุทธศาสตร์สู่การนำไปปฏิบัติให้บรรลุผล

damita
Download Presentation

การพัฒนาระบบราชการ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การพัฒนาระบบราชการ 12 ก.ย.48

  2. การพัฒนาระบบราชการ • แนวคิดและการดำเนินงานในช่วงสองปีที่ผ่านมา • การจัดโครงสร้างการบริหารราชการแผ่นดิน - บูรณาการแนวดิ่งและแนวนอน • การปรับปรุงโครงสร้างกระทรวง ทบวง กรม • การบริหารรัฐกิจแนวใหม่ - จากวิสัยทัศน์/ประเด็นยุทธศาสตร์สู่การนำไปปฏิบัติให้บรรลุผล • การปรับปรุงการให้บริการประชาชน • การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ ค่านิยมและวัฒนธรรมของข้าราชการ + การเรียนรู้ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ • การยกระดับคุณภาพมาตรฐานการทำงานของภาครัฐ • แนวทางการดำเนินงานในขั้นตอนต่อไป

  3. 1 แนวคิด แนวคิด และการดำเนินงานในช่วงสองปีที่ผ่านมา พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 มาตรา 3/1 Good Governance Efficiency Value-for-money Effectiveness Quality Accountability พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 Participation Transparency Responsiveness Decentralization แผนยุทธศาสตร์ การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ. 2546 - พ.ศ. 2550) Rule of law

  4. ยุทธศาสตร์การสร้างการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วมยุทธศาสตร์การสร้างการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม แนวนโยบายและ การพัฒนาระบบ Enabling การบริหารราชการ เพื่อสังคมประชาธิปไตย การบริหารราชการ ที่โปร่งใส การบริหารราชการ เพื่อประโยชน์สุข ของประชาชน การบริหารราชการ ที่ประชาชนเป็นหุ้นส่วน การพัฒนาจากภายนอกระบบราชการ(Outside-in Approach) การพัฒนาจากภายในภาคราชการ(Inside-out Approach) การบริหารราชการ ที่มีประสิทธิภาพ ราชการที่ตอบสนองความต้องการ ของประชาชน การบริหารราชการที่ทรงพลัง พัฒนาความรู้และศักยภาพฯ Empowerment

  5. Prime Minister’s Vision Beyond Bureaucracy • ให้ประชาชนเป็นศูนย์กลาง (citizen-centered) และ ยึดประโยชน์สุขของประชาชนเป็นหลัก • คิดเชิงยุทธศาสตร์ มุ่งไปข้างหน้า (future-oriented) และ เปิดมุมมองให้กว้าง (outside-in approach) • บริหารงานบนฐานขององค์ความรู้และข้อมูลสารสนเทศ • ทำงานเชิงรุก กล้าคิด กล้าทำ ท้าทาย ไม่ติดยึดกับรูปแบบเดิม เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้น • ยึดหลักบูรณาการ ไร้พรมแดนของหน่วยงาน (boundary less) • มีเป้าหมายในการทำงาน สามารถวัดผลสำเร็จได้อย่างชัดเจน • เน้นความรวดเร็ว เพื่อให้สามารถแข่งขันได้ (economy of speed) • เรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ปรับตัวให้ทันโลกทันสมัย • แสวงหาและใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีสมัยใหม่

  6. ยุทธศาสตร์การพัฒนา ระบบราชการไทย • การปรับโครงสร้างระบบราชการ ( รวมถึงการพัฒนาระบบบริหารงานของกลุ่มภารกิจ และ การทำงานแบบเมตริกซ์ ) • การจัดองค์กรรูปแบบใหม่ ( องค์การมหาชนและหน่วยบริการรูปแบบพิเศษ ) • การสอบทานการใช้จ่ายเงิน และบทบาทภารกิจ • การเปิดโอกาสให้เอกชน/องค์กรที่ไม่ใช่ภาคราชการเข้ามาแข่งขันในการให้บริการสาธารณะ(Contestability) • การคำนวณต้นทุนฐานกิจกรรม และการเรียกเก็บค่าธรรมเนียมในการถือครองทรัพย์สินของหน่วยงานในภาครัฐ (Capital Charges) ปรับบทบาท ภารกิจและขนาด ให้มีความเหมาะสม • การมีส่วนร่วมของประชาชน • การตรวจสอบภาคประชาชน • ( People’s Audit ) • Lay Board • การสร้างเครือข่ายการพัฒนาระบบราชการ เ เปิดระบบ ราชการ สู่กระบวนการ ประชาธิปไตย การพัฒนา ระบบราชการ เพื่อประโยชน์สุข ของประชาชน พัฒนาคุณภาพ การให้บริการ ประชาชนที่ดีขึ้น • มาตรฐานการให้บริการภาครัฐ • การออกแบบกระบวนการทำงานใหม่ • การปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย และ ระเบียบขั้นตอนที่เป็นอุปสรรค • การให้บริการทางอิเล็กทรอนิกส์ • (e- Service) • call center 1111 • ศูนย์บริการร่วม (Service Link) Government Counter Services • การวางยุทธ์ศาสตร์และการขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ • การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการและ การประเมินผลการดำเนินงาน • (Performance Scorecard) • มาตรการเสริมสร้างแรงจูงใจตามผลงาน ยกระดับ ขีดความสามารถ และมาตรฐาน การทำงาน ให้อยู่ระดับสูง • การบริหารการเปลี่ยนแปลง • ผู้นำการเปลี่ยนแปลง • การเรียนรู้ผ่านสื่อทางอีเล็กทรอนิกส์ • การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ : I AM • READY • รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (E-Government) • การเปลี่ยนระบบการบริหารการเงินการ คลังภาครัฐสู่ระบบอิเล็กทรอนิกส์ • (GFMIS) • นักบริหารที่มีความสำคัญเชิงยุทธศาสตร์ • นักบริหารการเปลี่ยนแปลงยุคใหม่ • การปรับปรุงเงินเดือนและค่าตอบแทน

  7. เป้าประสงค์หลักของการพัฒนาระบบราชการไทยเป้าประสงค์หลักของการพัฒนาระบบราชการไทย 1. พัฒนาคุณภาพการให้บริการประชาชนที่ดีขึ้น (better service quality) 2. ปรับบทบาท ภารกิจ และขนาดให้มีความเหมาะสม (rightsizing) 3. ยกระดับขีดความสามารถของข้าราชการและ มาตรฐานการทำงานของหน่วยงานภาครัฐให้อยู่ในระดับสูง และเทียบเท่าเกณฑ์มาตรฐานสากล (high performance) 4. ตอบสนองต่อการบริหารปกครองในระบอบประชาธิปไตย - เปิดระบบราชการสู่กระบวนการความเป็นประชาธิปไตย (democratic governance)

  8. ยุทธศาสตร์ 7 : การเปิดระบบราชการให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม Inform • ให้ส่วนราชการมีการนำเสนอข้อมูลข่าวสารที่จำเป็น • วางหลักเกณฑ์ให้แต่ละส่วนราชการจัดให้มีระบบการปรึกษาหารือกับ ประชาชน การสำรวจหรือประชุม เพื่อรับฟังความคิดเห็นของ ประชาชน • ให้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการที่ปรึกษาภาคประชาชน (lay board) ขึ้น โดยเฉพาะในระดับปฏิบัติการ (กรม/จังหวัด/อำเภอ) • ให้แต่ละส่วนราชการจัดให้มีอาสาสมัครภาคประชาชนเข้ามาทำงาน ร่วมกัน • กำหนดเงื่อนไขและแนวทางเพื่อส่งเสริมให้หน่วยงานราชการ ตระหนักถึงภาระหน้าที่ในการปฏิบัติราชการ ตามเจตนารมณ์ของ รัฐธรรมนูญและหลักนิติธรรม (ด้านการสร้างการมีส่วนร่วม) • กำหนดให้มีตัวชี้วัดด้านการมีส่วนร่วมสำหรับส่วนราชการ Consult Involve Collaborate Empower

  9. การนำยุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติการนำยุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติ • เครื่องมือในการนำยุทธศาสตร์ที่ 7 ไปสู่การปฏิบัติ • - กำหนดเป็นกติกาใน พ.ร.ฎ.ว่าด้วยการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ตามความใน • ม.3/1 พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน 2545 และก.พ.ร. ดูแลให้มีการบังคับใช้ • ให้ส่วนราชการสมัครเข้าร่วมในการพัฒนาระบบราชการสู่การบริหาราชการแบบมีส่วนร่วม เป็นราชการในระบบเปิด โดยอาศัยวิธีการกำหนดตัวชี้วัดและการสร้างแรงจูงใจ • สร้างกระแสแรงกดดันจากภายนอก โดยเฉพาะภาคประชาชน สื่อมวลชน นักวิชาการ ธุรกิจเอกชน และองค์กรที่เกี่ยวข้อง • - ติดตามประเมินผล โดยการจัดทำรายงานประจำปีของ ก.พ.ร. เพื่อเปิดเผย • ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการพัฒนาและจัดระบบราชการและงานของส่วนราชการต่างๆ

  10. การจัด โครงสร้างการบริหารราชการแผ่นดิน 2 โครงสร้างระบบการบริหารราชการแผ่นดินแนวใหม่ รัฐธรรมนูญ ผลประโยชน์ ของชาติ ผลลัพธ์ ขั้นสุดท้าย นโยบายรัฐบาล คณะรัฐมนตรี ยุทธศาสตร์หลัก ของรัฐบาล การตัดสินใจ ทางการเมือง Government-wide Agenda ผลลัพธ์ ขั้นกลาง การจัดสรร ทรัพยากร นรม. รนม. รมต. ปลัดกระทรวง ผลลัพธ์ Functional Agenda Area-based Agenda ข้อเสนอแนะ เชิงนโยบาย ยุทธศาสตร์ กระทรวง (ผลงานหลัก) ยุทธศาสตร์ กลุ่มจังหวัด (ผลงานหลัก) ผลผลิต/ กิจกรรม การปฏิบติงาน ผู้ว่าราชการจังหวัด อธิบดี

  11. 1.1 6.1 2.1 6.2 2.2 6.3 3.2 7.1 4.1 3.1 4.3 4.2 5.1 8.1 8.3 8.2 9.2 9.1 กลุ่มจังหวัด 19 กลุ่ม 1. กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แม่ฮ่องสอน เชียงราย พะเยา แพร่ น่าน 6. กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 6.1 อุดรธานี หนองบัวลำภู หนองคาย เลย 6.2 มุกดาหาร สกลนคร นครพนม กาฬสินธุ์ 6.3 ขอนแก่น มหาสารคาม ร้อยเอ็ด 2. กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 2.1 พิษณุโลก ตาก เพชรบูรณ์ สุโขทัย อุตรดิตถ์ 2.2 นครสวรรค์ อุทัยธานี กำแพงเพชร พิจิตร 7.2 3. กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน 3.1 นนทบุรี พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี อ่างทอง 3.2 สระบุรี ลพบุรี สิงห์บุรี ชัยนาท 7. กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง 7.1 นครราชสีมา ชัยภูมิ บุรีรัมย์ สุรินทร์ 7.2 อุบลราชธานี อำนาจเจริญ ศรีสะเกษ ยโสธร 4. กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนล่าง 4.1 ราชบุรี สุพรรณบุรี นครปฐม กาญจนบุรี 4.2 เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ สมุทรสงคราม สมุทรสาคร 4.3 ฉะเชิงเทรา สมุทรปราการ นครนายก สระแก้ว ปราจีนบุรี 5. กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออก 5.1 ชลบุรี ระยอง จันทบุรี ตราด 8. กลุ่มจังหวัดภาคใต้ 8.1 สุราษฎร์ธานี ชุมพร ระนอง 8.2 นครศรีธรรมราช ตรัง พัทลุง 8.3 ภูเก็ต พังงา กระบี่ 9. กลุ่มจังหวัดภาคใต้ชายแดน ติดต่อกับประเทศเพื่อนบ้าน 9.1 ปัตตานี ยะลา นราธิวาส 9.2 สงขลา สตูล

  12. รัฐบาล เอกชน แผนการบริหารราชการแผ่นดิน รัฐวิสาหกิจ กระทรวง กรม กระทรวง กรม กระทรวง กรม องค์การมหาชน Government-wide Agenda หน่วยงานอื่นของรัฐ จังหวัด โอนถ่าย(Devolution) - บทบาท อำนาจหน้าที่ - ทรัพยากร (งบประมาณ + คน) หน่วยงานกลาง  ส่วนกลาง  ส่วนภูมิภาค องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัด บูรณาการ(Integration) ระหว่างกระทรวง/กรม และ ระหว่าง กลุ่มจังหวัด/จังหวัด เข้าด้วยกัน (Horizontal & Vertical Integration) เงื่อนไขของความสำเร็จ จังหวัด ชุมชน/ประชาชน

  13. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 General Framework Broad guidelines คำแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรีต่อรัฐสภา Government Strategic Plan แผนการบริหารราชการแผ่นดิน 4 ปี แผนปฏิบัติราชการ กลุ่มเศรษฐกิจ กลุ่มสังคม .......... Business Plan กระทรวง กระทรวง กระทรวง กระทรวง กระทรวง กระทรวง จังหวัด Function กลุ่มจังหวัด จังหวัด จังหวัด บูรณาการ จังหวัด กลุ่มจังหวัด Area จังหวัด จังหวัด พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546

  14. การวางแผนและการวัดผลสัมฤทธิ์การวางแผนและการวัดผลสัมฤทธิ์ การวางแผน การวัดผลสัมฤทธิ์ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย กลยุทธ์ แผนการบริหาร ราชการแผ่นดิน (4 ปี) Corporate Scorecard ยุทธศาสตร์รัฐบาล • แผนปฏิบัติราชการ (4 ปี) • กระทรวง/กรม • กลุ่มจังหวัด/จังหวัด • Strategic Business Unit Scorecard • กระทรวง/กรม • กลุ่มจังหวัด/จังหวัด เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย กลยุทธ์ ยุทธศาสตร์กระทรวง/กรม ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด/จังหวัด • แผนปฏิบัติราชการ (รายปี) • กระทรวง กรม • กลุ่มจังหวัด/จังหวัด Sub-unit Scorecard Team & Individual Scorecard Budgeting

  15. นโยบายตามยุทธศาสตร์ของรัฐบาลนโยบายตามยุทธศาสตร์ของรัฐบาล • ขจัดความยากจน • พัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ • ปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจให้ สมดุลและแข่งขันได้ • บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม • การต่างประเทศและเศรษฐกิจ ระหว่างประเทศ • พัฒนากฎหมายและส่งเสริมการ บริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี • ส่งเสริม ปชธ.และกระบวนการ ประชาสังคม • รักษาความมั่นคงของรัฐ • รองรับการเปลี่ยนแปลงและ พลวัตรโลก กลไกในการขับเคลื่อนนโยบายและยุทธศาสตร์ของรัฐบาล เอกชน ภาครัฐ ประชาสังคม

  16. 3 การ ปรับปรุงโครงสร้างกระทรวง ทบวง กรม Public Sector Private Sector ส่วนราชการ หน่วย บริการ รูปแบบ พิเศษ องค์การ มหาชน หน่วยงาน ในกำกับ รัฐวิสาหกิจ หน่วยงาน ภายใต้ มูลนิธิ

  17. ที่มา.... “รัฐบาลจะพัฒนาระบบราชการอย่างต่อเนื่องต่อไป ด้วยการปรับโครงสร้างราชการและนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการวางแผนและตัดสินใจให้มีประสิทธิภาพ ซึ่งจะทำให้บทบาทและภารกิจมีความกระชับ มีประสิทธิภาพ เหมาะสมกับสถานการณ์ ทั้งการดูแลพื้นที่ การปฏิบัติราชการตามอำนาจหน้าที่ปกติ และการปฏิบัติราชการตามระเบียบวาระงานพิเศษ และพร้อมรับการเปลี่ยนแปลง และตอบสนองความต้องการของประชาชน โดยยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง” • คำแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรีต่อรัฐสภา23 มีนาคม 2548 • แผนการบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2548-2551 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 6 : การพัฒนาระบบราชการ ปรับโครงสร้างส่วนราชการและระบบบริหารงานให้มีความทันสมัย เพื่อรองรับต่อยุทธศาสตร์ของรัฐบาลได้อย่างมีประสิทธิผล

  18. สรุปผลแนวทางการจัดโครงสร้างส่วนราชการ (การประชุม ค.ร.ม. นัดพิเศษ 28พ.ค. 48).... Rethink & ReDo 1 Structure 2 Process 3 Culture 4 Communication (Info) 5 Human Resource PEOPLE (CUSTOMER) Global Environment

  19. แนวทางการจัดโครงสร้างส่วนราชการแนวทางการจัดโครงสร้างส่วนราชการ Management ParadigmShift Fragmentation Integration Subjective Objective Process Result Bureaucracy Customer Centered

  20. สรุปผลแนวทางการจัดโครงสร้างส่วนราชการ (การประชุม ค.ร.ม. นัดพิเศษ 28พ.ค. 48).... Value Chain (Michael Porter) Firm Infrastructure Margin Human Resource Management Support Activities Technology Development Procurement Margin Inbound Logistics Outbound Logistics Marketing and Sales Services Operations Primary Activities

  21. รูปแบบการจัดโครงสร้างส่วนราชการ (สรุปผลการประชุม ก.พ.ร. ครั้งที่ 6/2548 เมื่อวันที่ 21 มิถุนายน 2548) ในกระทรวงหนึ่งอาจจัดให้มีส่วนราชการแบบใดแบบหนึ่งดังต่อไปนี้ (1)แบบที่ 1 มีส่วนราชการ* ดังนี้ (ก) สำนักงานรัฐมนตรี (ข) สำนักงานปลัดกระทรวง (อาจมีกรมหรือไม่ก็ได้) (2) แบบที่ 2 มีส่วนราชการ* ดังนี้ (ก) สำนักงานรัฐมนตรี (ข) สำนักงานปลัดกระทรวง (มีหรือไม่ก็ได้) (ค) ทบวง (อาจมีกรมหรือไม่ก็ได้) (3) แบบที่ 3 มีส่วนราชการดังนี้ (ก) สำนักงานรัฐมนตรี (ข) สำนักงานปลัดกระทรวง (ค) กรม (อาจรวมเป็นกลุ่มภารกิจหรือไม่ก็ได้) หมายเหตุ กรณีเป็นกรมอาจเป็นกรมที่มีฐานะเป็นนิติบุคคลหรือไม่ก็ได้

  22. การบริหารภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management :NPM) • เน้นการบริหารงานในแบบมืออาชีพ (professional management) • กำหนดวัตถุประสงค์และตัวชี้วัดผลการดำเนินงานอย่างชัดเจน เป็นรูปธรรม ให้ความสำคัญต่อการรับผิดชอบต่อผลงาน (accountability for results) • ให้ความสำคัญต่อการควบคุมผลสัมฤทธิ์ และการเชื่อมโยงให้เข้ากับการจัดสรรทรัพยากรและการให้รางวัล • ปรับปรุงโครงสร้างองค์การให้มีขนาดเล็กลงเหมาะสมต่อการปฏิบัติงาน มีการจ้างเหมางานบางส่วนออกไป (contract out) • เปิดให้มีการแข่งข้นในการให้บริการสาธารณะ (contestability) เพื่อช่วยปรับปรุงประสิทธิภาพให้ดีขึ้น • ปรับเปลี่ยนวิธีการบริหารงานให้มีความทันสมัย อิงแบบของภาคเอกชน (business like approach) • เสริมสร้างวินัยในการใช้จ่ายเงินแผ่นดิน ความประหยัดและคุ้มค่าในการใช้ทรัพยากร

  23. การจัดแบ่งประเภทของ NPM ตามกระแสแนวคิดเกี่ยวกับการปฏิรูประบบบริหารงานภาครัฐ • การปรับปรุงประสิทธิภาพ(efficiency drive) •  ปรับเปลี่ยนวิธีการบริหารงานให้ทันสมัย •  เลียนแบบการบริหารงานเชิงธุรกิจมากขึ้น •  มุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ของการดำเนินงาน • การลดขนาดและการกระจายอำนาจ(downsizing and decentralization) •  เปิดให้กลไกตลาดเข้ามาแทนภาครัฐ •  จัดกลุ่มประเภทภารกิจงานหลัก/งานรอง (core function/ • non-core function) • เปิดให้มีการทดสอบตลาด (market – testing) •  เปิดให้มีการแข่งขัน (contestability) •  แยกผู้ซื้อบริการและผู้ให้บริการออกจากกัน (purchaser – provider split) •  ใช้ระบบการทำสัญญาข้อตกลง (contractualism) •  การจัดตั้งองค์การบริหารงานอิสระของฝ่ายบริหาร (agercification)

  24. 3. การมุ่งสู่ความเป็นเลิศ(in search of excellence)  ให้ความสำคัญเรื่องวัฒนธรรมองค์การ ค่านิยม จรรยาบรรณวิชาชีพ การบริหารความเสี่ยง 4. การให้ความสำคัญต่อการบริการประชาชน(public service orientation)  มุ่งเน้นคุณภาพการดำเนินงาน  ให้ความสำคัญต่อความพึงพอใจของลูกค้าผู้รับบริการ  การมีส่วนร่วมของประชาชน  ประสิทธิภาพ  ประสิทธิผล  คุณภาพการให้บริการ  ความคุ้มค่า NPM ให้ความสำคัญกับ

  25. 4 การ การ บริหารรัฐกิจแนวใหม่ ติดตาม ประเมินผล Strategic Control นำยุทธศาสตร์ ไปปฏิบัติ Strategy Implementation วางยุทธศาสตร์ Strategy Formulation • กำกับติดตามและ • ประเมินผล • ทบทวนสถานการณ์ • เพื่อวางยุทธศาสตร์ ใหม่ • วิสัยทัศน์ • ประเด็นยุทธศาสตร์ • เป้าประสงค์ • ตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมาย • กลยุทธ์ • Strategy Map แผนปฏิบัติการ • การปรับแต่ง • กระบวนงาน • โครงสร้าง • เทคโนโลยี • คน กระบวนการบริหารเชิงกลยุทธ์

  26. มิติการประเมินผลฯ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ 4 ด้าน (120%) Financial Perspective Internal Work Process Perspective มิติที่ 1 : มิติด้านประสิทธิผล ส่วนราชการแสดงผลงานที่บรรลุวัตถุประสงค์ และเป้าหมายตามที่ได้รับงบประมาณมาดำเนินการ เพื่อให้เกิดประโยชน์สุขต่อประชาชนตามแผนยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด/จังหวัด มิติที่ 3 : มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ ส่วนราชการแสดงความสามารถในการปฏิบัติราชการเช่น การลดค่าใช้จ่าย และการลดระยะเวลาการให้บริการ เป็นต้น 60% 10% มิติที่ 2 : มิติด้านคุณภาพการให้บริการ ส่วนราชการแสดงการให้ความสำคัญกับผู้รับบริการในการให้บริการที่มีคุณภาพ สร้างความพึงพอใจแก่ผู้รับบริการ มิติที่ 4 : มิติด้านการพัฒนาองค์กร ส่วนราชการแสดงความสามารถในการเตรียมพร้อมกับการเปลี่ยนแปลงขององค์การ ได้แก่ การพัฒนาระบบบริหารความรู้ การจัดการสารสนเทศ การจัดทำข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง การจัดทำแผนพัฒนากฎหมาย และการดำเนินงานตามแผนพัฒนากฎหมายของส่วนราชการ เป็นต้น 10% 10+30% Customer Perspective Learning & Growth Perspective

  27. องค์กรที่มุ่งเน้นยุทธศาสตร์องค์กรที่มุ่งเน้นยุทธศาสตร์ Strategy-focused Organization การบริหารกระบวนการ ลดรอบระยะเวลาดำเนินการ ประสิทธิภาพ efficiency การพัฒนาขั้นตอนการทำงานให้ดีขึ้น ลดต้นทุน & ความสูญเสีย Reengineering Lean Enterprise Six Sigma TQM เพิ่มผลผลิต กระบวนการบริหารลูกค้า การบริหารการเปลี่ยนแปลง Change Management คุณภาพ quality การดูแลผู้รับบริการ เพิ่มคุณค่า Value Creation เพิ่มความพึงพอใจ ความโปร่งใส มีส่วนร่วม เพิ่มความไว้วางใจ การวางระบบบริหารจัดการสินทรัพย์ที่จับต้องไม่ได้ effectiveness ขีดสมรรถนะ capacity-building ทุนมนุษย์ เพิ่มความพร้อมเชิง ยุทธศาสตร์ ทุนข้อมูลสารสนเทศ &ทุนความรู้ ทุนองค์กร

  28. คำรับรองการปฏิบัติราชการคำรับรองการปฏิบัติราชการ

  29. รายงานผลการปฏิบัติงานตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของจังหวัดแพร่รายงานผลการปฏิบัติงานตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของจังหวัดแพร่ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2547 SAR- Card (ต่อ)

  30. 5 การ การ ปรับปรุงการให้บริการประชาชน ลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการ ราชการ ใสสะอาด ปราศจาก คอร์รัปชัน Call Center 1111 e-Services Service Links Government Counter Services Mobile team

  31. โครงการจัดตั้งศูนย์บริการร่วมในรูปแบบโครงการจัดตั้งศูนย์บริการร่วมในรูปแบบ เคาน์เตอร์บริการประชาชน Government Counter Service : G C S

  32. ที่มา พ.ร.ฎ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546 ได้กำหนดให้กระทรวง จังหวัด และอำเภอ จัดให้มีศูนย์บริการร่วม เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ประชาชน คณะรัฐมนตรีในการประชุมเมื่อวันที่ 18 พ.ย. 46 ได้มีมติเห็นชอบ แนวทางการใช้บังคับ และเงื่อนไขการปฏิบัติตามพ.ร.ฎ. ดังกล่าว และกำหนดให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องรับไปดำเนินการจัดตั้งศูนย์บริการ ร่วมนำร่องด้านสาธารณูปโภคพื้นฐาน เป็นบริการแบบเบ็ดเสร็จและ ให้มีผล 1 ต.ค. 47 คณะรัฐมนตรีในการประชุมเมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน 2547 ได้มีมติ เห็นชอบแนวทางการดำเนินการขั้นต่อไปของการพัฒนาราชการไทย และกำหนดให้สำนักงาน ก.พ.ร. เป็นเจ้าภาพหลักในการผลักดันให้มี การบริการของงานภาครัฐในลักษณะการนำบริการเข้าถึงประชาชน โดยใช้รูปแบบของการจัดหน่วยงานเคลื่อนที่ (Mobile Unit) ไปตั้งอยู่ ในแหล่งชุมชน เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ประชาชน

  33. หลักการในการจัดตั้งGCS • แนวความคิดจัดตั้งเคาน์เตอร์บริการของภาครัฐ • “เป็นการให้บริการที่หลากหลาย อยู่ ณ ที่เดียวกัน” • จัดตั้งอยู่ ณ แหล่งชุมชนซึ่งมีประชาชนผ่านไปมาเป็นจำนวนมาก • เช่น สถานีรถไฟฟ้า ห้างสรรพสินค้า สนามบิน/ท่ารถขนส่ง • จัดให้มีบริการเคลื่อนที่ซึ่งสามารถไปให้บริการได้ตามสถานที่ซึ่งมี • ประชาชนอยู่รวมกันหนาแน่น เช่น ตามงานแสดง การประชุม

  34. การดำเนินการจัดตั้งGCS • สำรวจความต้องการงานบริการภาครัฐของประชาชน • ประสานความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง • ในการจัดตั้ง GCS • ศึกษารูปแบบ ระบบการให้บริการของ GCS • อบรมเจ้าหน้าที่ประจำ GCS เพื่อให้บริการ

  35. บริการของGCS

  36. บริการของGCS (ต่อ)

  37. บริการของGCS (ต่อ)

  38. พิธีเปิดและลงนามข้อตกลงในการจัดตั้งGCSพิธีเปิดและลงนามข้อตกลงในการจัดตั้งGCS

  39. พิธีเปิดและลงนามข้อตกลงในการจัดตั้งGCSพิธีเปิดและลงนามข้อตกลงในการจัดตั้งGCS

  40. พิธีเปิดและลงนามข้อตกลงในการจัดตั้งGCSพิธีเปิดและลงนามข้อตกลงในการจัดตั้งGCS

  41. พิธีเปิดและลงนามข้อตกลงในการจัดตั้งGCSพิธีเปิดและลงนามข้อตกลงในการจัดตั้งGCS

  42. ผู้บริหาร ก.พ.ร. ตรวจเยี่ยมการทำงานของ เคาน์เตอร์บริการประชาชน : เชียงใหม่ ณ ห้างสรรพสินค้าเซ็นทรัลแอร์พอร์ตพลาซ่า จ.เชียงใหม่

  43. ผู้บริหาร ก.พ.ร. ตรวจเยี่ยมการทำงานของ เคาน์เตอร์บริการประชาชน : เชียงใหม่

  44. ผู้บริหาร ก.พ.ร. ตรวจเยี่ยมการทำงานของ เคาน์เตอร์บริการประชาชน : เชียงใหม่

  45. ผู้บริหาร ก.พ.ร. ตรวจเยี่ยมการทำงานของ เคาน์เตอร์บริการประชาชน : เชียงใหม่

  46. การ 6 ปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ ค่านิยมและ วัฒนธรรมของข้าราชการไทย และ การเรียนรู้ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เก่า ใหม่ pull push I ntegrity A ctiveness M orality R elevancy E fficiency A ccountability D emocracy Y ield Promotion/ Campaign Incentives Change Agent Communication for Change

  47. Virtual Academy of Public Management

  48. การ 7 ยกระดับคุณภาพมาตรฐานการทำงานภาครัฐ Total Quality Management Leadership Information & Analysis Malcolm Baldrige National Quality Award (MBNQA) Business Results Strategy Deployment HR Focus Process Management Customer & Market Focus World class UK Quality Award Singapore Quality Award Thailand Quality Awards UKQA SQA JQA EQA Public Sector Quality Awards European Quality Assurance Japan Quality Award

  49. การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ การดำเนินงานที่ผ่านมา การดำเนินงานขั้นต่อไป การเตรียมพร้อมเพื่อยกระดับและพัฒนาคุณภาพมาตรฐานการบริหารงานภาครัฐ วางยุทธศาสตร์ • ให้มีการจัดทำแผนบริหารราชการแผ่นดิน • แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี • สร้างกลไกการผลักดัน การนำยุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติ โดยเชื่อมโยงยุทธศาสตร์กับการวัดผลสัมฤทธิ์ครอบคลุม 4 มิติ และให้มีการทำคำรับรองฯ ภาครัฐ ภาคเอกชน รางวัล คุณภาพ การบริหาร จัดการ ภาครัฐ รางวัลคุณภาพ แห่งชาติ (TQA) นำยุทธศาสตร์ไปปฏิบัติ • ให้มีการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี/รายปี • วางวิธีการจัดสรรงบประมาณ • การปรับแต่งองคาพยพของระบบราชการ: • กระบวนงาน • โครงสร้าง • เทคโนโลยี • คน • เพื่อผลักดันการทำงานตามยุทธศาสตร์ เกณฑ์ คุณภาพ การบริหาร จัดการ ภาครัฐ การควบคุมเชิงยุทธศาสตร์ MBNQA MBNQA + พรฎ. GG • วางระบบให้มีการประเมินผลตนเอง การตรวจสอบผลการดำเนินการตามคำรับรอง การวางระบบการบริหารการเงิน การคลัง (GFMIS)

  50. สร้างความเชื่อมโยงกับพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 พรฎ. ตัวผลักดันให้เกิดผลลัพธ์(เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) ผลลัพธ์ 1. เกิดประโยชน์สุข ของประชาชน 2. เกิดผลสัมฤทธิ์ ต่อภารกิจของรัฐ 3. ประสิทธิภาพ และคุ้มค่า 4. ลดขั้นตอน การปฏิบัติงาน 5. ปรับปรุงภารกิจ ของส่วนราชการ 6. อำนวยความสะดวก ให้กับประชาชน 7. ประเมินผล การปฏิบัติราชการ การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ การมุ่งเน้น ทรัพยากร บุคคล ประสิทธิผล การนำ องค์กร คุณภาพ การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การจัดการ กระบวนการ ประสิทธิภาพ พัฒนาองค์กร การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้

More Related