1 / 19

AEC 200

AEC 200. หัวข้อ5 แนวคิดเศรษฐศาสตร์มหภาค. บทที่ 5.1 ผลผลิตและรายได้ประชาชาติ 3 ชม. 5.2 การผันผวนทางเศรษฐกิจ การว่างงานและภาวะเงินเฟ้อ 3 ชม. 5.3 การใช้จ่ายของรัฐ การเก็บภาษี และนโยบายเศรษฐกิจ 3 ชม. บทที่ 5.1 ผลผลิตและรายได้ประชาชาติ. วัตถุประสงค์.

Download Presentation

AEC 200

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. AEC 200 หัวข้อ5 แนวคิดเศรษฐศาสตร์มหภาค บทที่ 5.1 ผลผลิตและรายได้ประชาชาติ 3 ชม. 5.2 การผันผวนทางเศรษฐกิจ การว่างงานและภาวะเงินเฟ้อ 3 ชม. 5.3 การใช้จ่ายของรัฐ การเก็บภาษี และนโยบายเศรษฐกิจ 3 ชม.

  2. บทที่ 5.1 ผลผลิตและรายได้ประชาชาติ วัตถุประสงค์ • อธิบายดัชนีผู้บริโภค (CPI)และ GDP deflator และวิธีวัด • อธิบายการที่รายได้รวม ค่าใช้จ่ายรวม และผลผลิตรวมเท่ากัน • อธิบายวิธีการวัด GDP • อธิบายความแตกต่างระหว่าง stocks ของทุนและความมั่งคั่ง และ flow ของการผลิต รายได้ การลงทุน และการออม • อธิบาย GDP ที่แท้จริง (real GDP) • อธิบายข้อจำกัดของการเติบโต real GDP ในฐานะเป็นตัววัดมาตรฐานการครองชีพ

  3. GDP (Gross Domestic Product)หรือผลิตภัณฑ์ในประเทศ เป็นมูลค่าของผลิตภัณฑ์ทั้งหมดที่ผลิตขึ้นในประเทศทั้งหมด (สินค้า + บริการ) ในช่วงเวลาหนึ่ง (มักเป็น1ปี) * เราวัดมูลค่าที่เกิดขึ้นภายในอาณาเขตของประเทศ GNP (Gross National Product) ผลิตภัณฑ์รวมประชาชาติ * เราวัดมูลค่าที่เกิดขึ้นตามสัญชาติเช่น GNP ของไทย = GDP + รายได้ที่คนไทยสร้างไว้ในต่างแดน- รายได้ที่คนต่างชาติสร้างไว้ในประเทศไทย

  4. บัญชีรายได้ประชาชาติ วิธีคำนวณหารายได้ประชาชาติมี 3 วิธี (1)ทางด้านผลผลิต (product approach) คือการคำนวณโดยหาค่าของ GNP หรือ GDP (2)ทางด้านรายได้ (income approach) คือการคำนวณจากรายได้ของผู้เป็นเจ้าของปัจจัยการผลิต คือเงินเดือนค่าแรงค่าเช่าดอกเบี้ยกำไรค่าเสื่อมราคาและภาษีทางอ้อมซึ่งได้มาณเวลาใดเวลาหนึ่ง (3)ทางด้านรายจ่าย (expenditure approach) คือการคำนวณทางด้านรายได้รวมทั้งการสะสมทุนซึ่งเป็นผลเหลือจากการใช้จ่ายและการเก็บสะสมไว้เพื่อลงทุนในช่วงเวลาถัดไป (รายจ่ายสิ้นเปลือง + การสะสมทุนของรัฐ) ทั้ง 3 วิธีควรให้คำตอบเท่ากันแต่เป็นไปได้ที่อาจคลาดเคลื่อนได้ (discrepancy) ทางสถิติ

  5. ประเภทของรายได้ (1)   ค่าตอบแทนแรงงาน (2)   รายได้จากกิจการที่ไม่ใช่นิติบุคคล (3)   รายได้จากทรัพย์สินที่ครัวเรือน & สถาบันการกุศลได้รับ (4)   การออมของบริษัทและรัฐวิสาหกิจ (5)   ภาษีทางตรงของบริษัท (6)   รายได้จากทรัพย์สินและกิจการของรัฐ + กำไรของรัฐวิสาหกิจ (7)   ดอกเบี้ยจากหนี้สาธารณะ (8)   ดอกเบี้ยจากหนี้ของผู้บริโภค (1) + .... (6) – (7) และ (8) = รายได้ประชาชาติ (National income)

  6. การคำนวณรายได้ประชาชาติทางด้านผลผลิตการคำนวณรายได้ประชาชาติทางด้านผลผลิต ตามหลักสหประชาชาติมี 11 สาขาการผลิตซึ่งสร้าง GDP 1.สาขาเกษตรกรรม(พืช, ปศุสัตว์, ประมง, ป่าไม้) 2.สาขาเหมืองแร่และย่อยหิน 3.สาขาอุตสาหกรรม 4.สาขาก่อสร้าง 5.สาขาการไฟฟ้าและประปา 6.สาขาการคมนาคมและขนส่ง 7.   สาขาการค้าและขายปลีก 8. สาขาการธนาคารประกันภัยและธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ 9. สาขาที่อยู่อาศัย 10. สาขาบริหารราชการและป้องกันประเทศ 11. สาขาบริการ

  7. GNP = GDP + รายได้สุทธิซึ่งได้รับจากต่างประเทศ NI = GNP-ภาษีทางอ้อมหลังจากหักเงินอุดหนุนแล้ว-ค่าเสื่อมราคา

  8. การคำนวณรายได้ประชาชาติทางด้านรายจ่ายการคำนวณรายได้ประชาชาติทางด้านรายจ่าย รายจ่ายประชาชาติเป็นการแสดงการใช้ผลิตภัณฑ์ที่ผลิตขึ้นได้ให้หมดสิ้นเปลืองไปซึ่งใช้ไปในด้าน :- 1.     การอุปโภคบริโภคของประชาชน (C) 2.     การซื้อสินค้าและบริการของรัฐบาล (G) 3.     การสะสมทุนเบื้องต้นในประเทศ (I) 4.     การเปลี่ยนแปลงในสินค้าคงเหลือ 5.     สินค้าและบริการขาออกสุทธิ (x - m) • การวัดด้วยวิธีนี้มีปัญหาหลายประการ (ให้นักศึกษาอ่านเอง) • ต้องไม่รวมเงินโอน (ในส่วนของ G) • GNP ไม่ใช่เครื่องวัดสวัสดิการของประชาชนที่ดี (ประสิทธิภาพและคุณภาพชีวิต/ช่องว่างรายได้และความไม่เสมอภาค)

  9. ทุน, Flow, Stock และการลงทุน GDP (ต่อ) Flows และ Stocks 1.Flows คือปริมาณต่อหน่วยเวลาเช่นค่าเสื่อมทุน 2.Stocks คือปริมาณที่มีอยู่ณเวลาหนึ่งเช่นทุน(capital) ทุน (capital) :- ต้นไม้ในสวน, เครื่องมือ, โรงเรือน, วัตถุดิบคงคลังสินค้าระหว่างผลิตที่จะนำไปใช้ในการผลิตสินค้าขั้นสุดท้าย

  10. GDP (ต่อ) ค่าเสื่อม (depreciation) การลดลงของทุนอันเป็นผลจากการเสื่อมสภาพ/ไม่ทันสมัย ถือว่าเป็นcapitalconsumption Gross Investment (GI) : จำนวนที่เพิ่มขึ้นของทุน (capital stock) และการทดแทนค่าเสื่อม Net Investment : จำนวนที่เพิ่มขึ้นของ capital stock = GI – depreciation

  11. GDP (ต่อ) ความมั่งคั่ง (Wealth) ความมั่งคั่ง : เป็น stock ทางเศรษฐศาสตร์มหภาคหมายถึงมูลค่าของสรรพสิ่งทั้งปวงที่ประชาชนเป็นเจ้าของโดยเกี่ยวสัมพันธ์กับรายได้ซึ่งได้มา (flow)

  12. GDP(ต่อ) การไหลเวียนของรายได้และรายจ่าย s การออม ครัวเรือน T ภาษี รัฐบาล รัฐยืม ทรัพยากร C Y ตลาดปัจจัยการผลิต ตลาดสินค้า ตลาดการเงิน I NX การยืมจากต่างประเทศ I C ต่างประเทศ Y G ธุรกิจ NX การยืมของเอกชน GDP (ต่อ) G แปลจาก Michael Parkin

  13. GDP (ต่อ) รายได้ = รายจ่าย y = C + I + G + NX

  14. GDP (ต่อ) การให้มูลค่าต่อผลิตผล มูลค่าเพิ่ม (value added) เป็นมูลค่าของผลิตผลจากธุรกิจลบด้วยมูลค่าของสินค้าระหว่างกลาง (intermediate good) ซึ่งธุรกิจซื้อมาจากธุรกิจอื่น

  15. มูลค่าเพิ่มและรายจ่ายขั้นสุดท้ายมูลค่าเพิ่มและรายจ่ายขั้นสุดท้าย เกษตรกร (F) มูลค่าเพิ่มของ F โรงสี (M) มูลค่าของ ข้าวเปลือก VAของ M โรงงานขนม (B) มูลค่าข้าวสาร VAของ B ร้านขายปลีก มูลค่าขนม VAของ GR ผู้บริโภค มูลค่าขนม / ค่าใช้จ่ายขั้นสุดท้ายสำหรับขนม

  16. ระดับราคาและเงินเฟ้อ  อัตราเงินเฟ้อเป็นเปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของระดับราคา จากปีหนึ่งไปยังอีกปีหนึ่ง มี 2 ดัชนี • ดัชนีราคาผู้บริโภค (consumer price index : CPI) • GDP deflator

  17. CPI : การวัด  วัดค่าเฉลี่ยของระดับราคาสินค้าและบริการที่ครัวเรือนในเมืองซื้อ  ต้องมีปีฐาน

  18. ตัวอย่างวิธีคำนวณ CPI อย่างง่าย 1750 CPI 2325 X 100 = X 100 1750 1750 = 100 = 132.85

  19. GDP Deflator :  เป็นตัววัดค่าเฉลี่ยของระดับราคาของสินค้าทุกชนิดที่รวมอยู่ใน GDP GDP Deflator = GDP ราคาตามค่าตัวเงิน GDP ที่แท้จริง X 100 = Nominal GDP real GDP X 100 • Nominal GDP คือ GDP ราคาตลาดในปีที่วัดค่า (current price) • GDP ที่แท้จริง เป็น GDP เทียบกับในปีฐาน

More Related