1 / 42

ยางพาราไทยกับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

ยางพาราไทยกับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน. กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ. ข้อน่าคิดเกี่ยวกับ FTA/AEC. ถ้าไทยไม่ทำ FTA จะมีผลเสียหรือ ?. ไทยจะเสียเปรียบต่อประเทศคู่แข่งในตลาดคู่ค้า. ภาษีนำเข้า 20%. ภาษีนำเข้า 0%. FTA. Building blocs in the world. EFTA. EU.

damara
Download Presentation

ยางพาราไทยกับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ยางพาราไทยกับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนยางพาราไทยกับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน • กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ

  2. ข้อน่าคิดเกี่ยวกับ FTA/AEC ถ้าไทยไม่ทำ FTA จะมีผลเสียหรือ? ไทยจะเสียเปรียบต่อประเทศคู่แข่งในตลาดคู่ค้า ภาษีนำเข้า 20% ภาษีนำเข้า 0% FTA

  3. Building blocs in the world EFTA EU TPPTrans-Pacific Strategic Economic Partnership (US, AUS, NZ, Chile, Peru, SG, ML, BR, VN) NAFTA APEC ANDEAN BRICS(Brazil, Russia, India, China, South Africa) GCC BIMSTEC

  4. Building blocs in the world EFTA China 10 FTAs – 22 countries ; SG, NZ, Chile, Peru, HK Nego – 18 countries ; AUS, GCC, SACU Japan 13 FTAs – 16 countries ; India, ASEAN (except CLM) Nego – 8 countries ; ROK, AUS, GCC EU FTAs – 28 countries; ROK, EFTA, MX , Middle East, Nego – 23 countries; SG, ML, India, China TPPTrans-Pacific Strategic Economic Partnership (US, AUS, NZ, Chile, Peru, SG, ML, BR, VN) NAFTA APEC ANDEAN South Korea 8 FTAs – 44 countries ; SG, India, EU, US, EFTA Nego – 39 countries ; AUS, NZ, GCC BRICS(Brazil, Russia, India, China, South Africa) GCC BIMSTEC US 14 FTAs – 20 countries; SG, NAFTA, AUS, Central –South America, ROK, Columbia, Panama Nego - 4 countries; TPP (BR, ML, VN, NZ) India 6 FTAs - 16 countries ; SG, TH, ML, Sri Lanka, ROK Nego – 55 countries ; China, Japan, EU, EFTA, GCC Australia 6 FTAs – 13 countries ; SG, TH, NZ, US, Chile Nego – 13 countries ; ROK, China, Japan, India, GCC New Zealand 8 FTAs – 12 countries ; SG, TH, ML, China, AUS Nego – 9 countries ; ROK, India, US, GCC

  5. CAMBODIA อาเซียน : สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ปี 2540 ปี 2540 ปี 2510 ปี 2538 ปี 2510 ปี 2510 ปี 2542 ปี 2527 ASEAN (Association of South East Asian Nations) ปี 2510 ปี 2510 5

  6. ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ปี 2558 (2015) ชุมชนอาเซียน กฎบัตรอาเซียน ประชาคม เศรษฐกิจ อาเซียน (AEC) ประชาคม ความมั่นคง อาเซียน (ASC) ASEAN Charter พิมพ์เขียว AEC (AEC Blueprint) One Vision One Identity One Community ประชาคม สังคม-วัฒนธรรม อาเซียน (ASCC)

  7. AEC 4 เป้าหมายภายใต้ AEC Blueprint เพื่อประสานกลายเป็นหนึ่งเดียว คือ อาเซียน 1. การเป็นตลาดและฐานการผลิตร่วม 2. การสร้างเสริมขีดความสามารถแข่งขัน เคลื่อนย้ายสินค้าอย่างเสรี นโยบายการแข่งขัน เคลื่อนย้ายบริการอย่างเสรี การคุ้มครองผู้บริโภค สิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา เคลื่อนย้ายการลงทุนอย่างเสรี โครงสร้างพื้นฐาน เคลื่อนย้ายแรงงานมีฝีมืออย่างเสรี นโยบายภาษี เคลื่อนย้ายเงินทุนอย่างเสรีมากขึ้น ปี 2015 e-ASEAN 3. การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค 4. การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก สนับสนุนการพัฒนา SMEs ปรับประสานนโยบายเศรษฐกิจ สร้างเครือข่ายการผลิต จำหน่าย ลดช่องว่างการพัฒนา IAI จัดทำ FTA กับประเทศนอกภูมิภาค การมีส่วนร่วมภาครัฐ-เอกชน PPE

  8. 1. อาเซียนจะกลายเป็นตลาดร่วมอย่างสมบูรณ์ ภาษีนำเข้าเป็นศูนย์/อุปสรรคนำเข้าระหว่างอาเซียนด้วยกันหมดไป ตลาด 10 ประเทศรวมเป็นหนึ่ง สินค้า ทำธุรกิจบริการในอาเซียนได้อย่างเสรี บริการ การลงทุนในอาเซียนทำได้อย่างเสรี การลงทุน การเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือเสรี แรงงานฝีมือ การเคลื่อนย้ายเงินทุนอย่างเสรียิ่งขึ้น เงินทุน ความมั่นคงด้านอาหาร เกษตร ป่าไม้ ความร่วมมือ

  9. 1.1 ภาษีสินค้า/อุปสรรคนำเข้าจะหมดไปกลายเป็นตลาดอาเซียน 1. ภาษีนำเข้าสินค้า – ต้องเป็นศูนย์(ลดเป็นลำดับตั้งแต่ปี 2536) - 1 ม.ค. 53อาเซียน 6 (SG 100%, TH 99.8%,BR 99.2%, PH 99%, IN 98.7%, ML 98.4%) - 1 ม.ค. 58 อาเซียน 4 (CLMV) 2. อุปสรรคทางการค้าที่มิใช่ภาษี (Non-Tariff Barriers: NTBs) - ต้องหมดไป - อาเซียน 5 (1 ม.ค. 53) ฟิลิปปินส์ (1 ม.ค. 55) CLMV (1 ม.ค. 58) 3. กฎว่าด้วยถิ่นกำเนิดสินค้า (ROOs) – เพิ่มทางเลือกอย่างเท่าเทียม (co-equal) - RVC (40), CTC, PSRs 4. มาตรฐานร่วม – ให้สอดคล้องกับระบบสากลและระหว่างอาเซียน -เครื่องใช้ไฟฟ้า ความปลอดภัยทางไฟฟ้า องค์ประกอบด้านแม่เหล็กไฟฟ้า ผลิตภัณฑ์ยาง เภสัชกรรม (กำลังดำเนินการ - เกษตร ประมง ไม้ ยานยนต์ วัสดุก่อสร้าง เครื่องมือแพทย์ ยาแผนโบราณ อาหารเสริม) 5. พิธีการทางศุลกากรที่ทันสมัย - อำนวยความสะดวกทางการค้า - ASEAN Single Window, Self-Certification

  10. ต้องลดภาษีทุกรายการสินค้าเหลือ 0 % ในปี 2553 • (ยกเว้น เมล็ดกาแฟ มันฝรั่ง ไม้ตัดดอก เนื้อมะพร้าวแห้ง ภาษีเหลือ 5%) • ต้องยกเลิกโควตาสินค้าเกษตร 23 รายการหมดไปในปี 2553 พันธกรณีการเปิดเสรีสินค้าของไทย

  11. สินค้าเกษตรที่มีโควตา 23 รายการ

  12. 1.4 A Single Market and Production Base – Freer Flow of Capital อาเซียนจะกลายเป็นศูนย์กลางการลงทุนทั่วโลก NT – MFNการลงทุนในอาเซียนจะเปิดเสรีและโปร่งใสมากขึ้น FLEXIBILITY หากยังไม่พร้อมเปิดเสรี สามารถทำข้อสงวนไว้ได้ • Challenges • นโยบายเชิงรุกเพื่อดึงดูดเงินลงทุนจากต่างประเทศ โดยสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการลงทุน • นโยบายสนับสนุนให้มีการลงทุนในต่างประเทศมากขึ้น FDI Portfolio เกษตร บริการเกี่ยวเนื่อง ประมง ป่าไม้ เหมืองแร่ การผลิต • ACIAความตกลงว่าด้วยการลงทุนอาเซียน (ASEAN Comprehensive Investment Agreement) - ลงนามปี 2552 • IGAความตกลงว่าด้วยการส่งเสริมและคุ้มครองการลงทุนอาเซียน (ASEAN Agreement for the Promotion and Protection of Investment/ Investment Guarantee Agreement) - ปี 1987 • AIAกรอบความตกลงว่าด้วยเขตการลงทุนอาเซียน (Framework Agreement on the ASEAN Investment Area) - ปี 1998

  13. 1.5 A Single Market and Production Base – Free Flow of Skill Labour อาเซียนได้รับการอำนวยความสะดวกในการประกอบวิชาชีพมากขึ้น MRA ไม่ได้เป็นการเปิดตลาดแต่เป็นเพียงการอำนวยความสะดวกในขั้นตอนการขอใบอนุญาต โดยลดขั้นตอนการตรวจสอบ/รับรองวุฒิการศึกษาหรือความรู้ทางวิชาชีพ สาขาวิศวกรรม MRAs ข้อตกลงยอมรับร่วม นักวิชาชีพในอาเซียนสามารถจดทะเบียนหรือขอใบอนุญาตประกอบวิชาชีพในประเทศอาเซียนอื่นได้ แต่ยังต้องปฏิบัติตามกฏระเบียบภายในของประเทศนั้นๆ สาขานักบัญชี สาขาการท่องเที่ยว สาขานักสำรวจ* สาขาสถาปัตยกรรม สาขาแพทย์ สาขาทันตแพทย์ สาขาพยาบาล 13

  14. 2. Competitive Economic Region อาเซียนจะเป็นภูมิภาคที่มีความสามารถในการแข่งขันสูง นโยบายการแข่งขันผลักดันให้ทุกประเทศมีนโยบายและกฎหมายการแข่งขัน เพื่อสร้างวัฒนธรรมของการแข่งขันทางธุรกิจที่ยุติธรรม (ประเทศที่มีกฎหมายแข่งขัน ได้แก่อินโดนีเซีย สิงคโปร์ ไทย) จัดตั้งคณะผู้เชี่ยวชาญเพื่อหารือและประสานงาน การคุ้มครองผู้บริโภคพัฒนามาตรการด้านการคุ้มครองผู้บริโภคควบคู่กับมาตรการด้านเศรษฐกิจ (ประเทศที่มีกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค ได้แก่ อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ ไทย เวียดนาม ลาว) จัดตั้งคณะกรรมการเพื่อเป็นศูนย์กลางประสานงานในการปฏิบัติ/ตรวจสอบกลไกภายในภูมิภาค สิทธิในทรัพย์สินทางปัญญาบังคับใช้แผนปฏิบัติการสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญาและแผนงานด้านลิขสิทธิ์ จัดตั้งระบบการจัดเก็บเอกสารสำหรับการออกแบบ โครงสร้างพื้นฐานจัดทำแผนยุทธศาสตร์ด้านการขนส่งเพื่อสร้างความเชื่อมโยงด้านการขนส่งทุกรูปแบบ (ทางบก ทางอากาศ ทางน้ำ) และอำนวยความสะดวกในการเคลื่อนย้ายสินค้า จัดทำแผนปฏิบัติการส่งเสริมความมั่นคงด้านพลังงาน (ไฟฟ้า ก๊าซธรรมชาติ ถ่านหิน) เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT)จัดทำแผนแม่บทด้าน ICTกำหนดมาตรการเพื่ออำนวยความสะดวกด้านพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ภายใต้กรอบความตกลง e-ASEAN

  15. 3. Equitable Economic Development อาเซียนจะเป็นภูมิภาคที่มีการพัฒนาทางเศรษฐกิจที่เท่าเทียมกัน

  16. อาเซียนจะได้รับประโยชน์จากการลดภาษีสินค้ากับ 6 ประเทศอย่างมหาศาล % of tariff line

  17. India ACFTA AIFTA China AEC AJCEP AANZFTA Australia New Zealand Japan AKFTA Korea อาเซียนจะต่อยอดจากความตกลงเดิมที่มีอยู่??? 5 FTAs ระหว่างอาเซียนกับประเทศคู่เจรจา – ปัจจุบัน “Living Agreements” สินค้า : ลงนาม 29 พ.ย. 47 มีผล 1 ม.ค. 48 บริการ : ลงนาม 14 ม.ค. 50 มีผล 1 ก.ค. 50 ลงทุน : ลงนาม 15 ส.ค. 52 มีผล เม.ย. 53 สินค้า : ลงนาม 13 ส.ค. 52 มีผล 1 ม.ค. 53 บริการ/ลงทุน : กำลังเจรจา สินค้า/บริการ/ลงทุน : ไทยลงนาม 11 เม.ย. 51 สำหรับไทย มีผล 2 มิ.ย. 52 สินค้า/บริการ/ลงทุน : ลงนาม 26 ก.พ. 52 มีผล 1 ม.ค. 53 (ไทยให้สัตยาบัน 12 มี.ค. 53) สินค้า : อาเซียนอื่นลงนาม 28 ส.ค. 49 บริการ : อาเซียนอื่นลงนาม 21 พ.ย. 50 ไทย :บริการ ลงนาม 27 ก.พ. 52 มีผล 1 มิ.ย. 52 สินค้า ลงนาม 27 ก.พ. 52 มีผล 1 ต.ค. 52 ลงทุน: ทุกประเทศ ลงนาม 2 มิ.ย. 52 มีผล 31 ต.ค. 52

  18. ไทยสามารถนำจุดแข็งจุดอ่อนมาปรับใช้ให้เป็นประโยชน์กับประเทศไทยสามารถนำจุดแข็งจุดอ่อนมาปรับใช้ให้เป็นประโยชน์กับประเทศ

  19. การค้าสินค้าเกษตรสำคัญของไทยกับอาเซียนการค้าสินค้าเกษตรสำคัญของไทยกับอาเซียน ที่มา : สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร

  20. การค้าสินค้าเกษตรไทยกับอาเซียนการค้าสินค้าเกษตรไทยกับอาเซียน ล้านบาท ที่มา : สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร หมายตเหตุ : พิกัดศุลการกร 01 – 24 และยางธรรมชาติ พิกัด 4001

  21. การค้าเกษตรและอาหารโลกการค้าเกษตรและอาหารโลก • NTB • แข่งขันด้าน คุณภาพ มาตรฐาน ความปลอดภัย • ประสิทธิภาพการผลิต • การค้า – สิ่งแวดล้อม • อาหาร / พลังงาน

  22. ยางพารา สถานะปัจจุบัน - ไทยเป็นผู้ผลิตและส่งออกยางพารารายใหญ่ของโลก - พึ่งพาตลาดส่งออก 90% โดยส่งออกเป็นวัตถุดิบ - ขยายการเพาะปลูกอย่างต่อเนื่อง โอกาสยางพาราไทยใน AEC - ขยายการปลูกในประเทศเพื่อนบ้านพร้อมลงทุนแปรรูป จากความได้เปรียบด้านภูมิศาสตร์ - หาผู้ลงทุนตั้งฐานการผลิตผลิตภัณฑ์ยางในไทย สร้างมูลค่าเพิ่มแทนการส่งออกวัตถุดิบ - เป็นศูนย์กลางการผลิต/ส่งออกอุตสาหกรรมปลายน้ำยางพารา เสียประโยชน์จาก AEC - ประเทศที่เป็นตลาดหลักของไทยลงทุนขยายการปลูกยางพาราในประเทศเพื่อนบ้าน ความต้องการซื้อจากไทยจะลดลง หากแข่งขันด้านคุณภาพและราคาไม่ได้

  23. ปริมาณ/การผลิต

  24. ความเคลื่อนไหวของราคายางพารา ปี 2549 - 2556

  25. มาตรการทางการค้า • รับรองสวน GAP โรงคัดบรรจุGMP • หนังสือรับรองปลอดสารตกค้าง/เชื้อจุลินทรีย์ จากกรมวิชาการเกษตร • หนังสือรับรองสุขอนามัย • มาตรวจสวนที่จะส่งออก • จดทะเบียนเป็นผู้ส่งออก • ขอ form D ATIGA FTA

  26. AEC คือโอกาสของไทย

  27. สินค้า/บริการที่มีโอกาส และที่อาจได้รับผลกระทบ

  28. 1 มกราคม 2559ประเทศไทย จะเกิดอะไรขึ้น???

  29. ผลผลิตยางล้นตลาด ? เกษตรกรจะรวยเป็นมหาเศรษฐี? ราคายางตก ! ที่ดินถูกครอบครองโดยต่างชาติ? เข้าคิวซื้อข้าว/อาหาร ! ลูกหลานไม่ทำสวน/ ไร่/ นา แล้ว ต้องนำเข้าสินค้าเกษตรจากเพื่อนบ้าน ? ส่งออกสินค้าเกษตรจนไม่เพียงพอบริโภคในประเทศ ? อาหารราคาแพง !

  30. ภาพรวมผลกระทบต่อธุรกิจเกษตรไทย และการปรับตัวรองรับการเปลี่ยนแปลง

  31. มาตรการเชิงรุกและเชิงรับมาตรการเชิงรุกและเชิงรับ

  32. สร้างความแตกต่าง

  33. รูปแบบแปลกใหม่

  34. สร้างแบรนด์

  35. การค้าและสิ่งแวดล้อม • ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม • carbon credit

  36. เผาตอซังนาข้าว ทำลายสภาพแวดล้อม

  37. อนาคตยางพารา ? • ราคาน้ำมันดิบ/ยางสังเคราะห์ • ภาวะเศรษฐกิจโลก • การพัฒนาการผลิต/การแปรรูปของไทย • การพัฒนาตลาดกลาง/ตลาดซื้อขายล่วงหน้า(AFET) • R&D

  38. ภาครัฐไทยควรปรับตัวอย่างไรภาครัฐไทยควรปรับตัวอย่างไร • รับรู้ สร้างความเข้าใจ ข้อมูล AEC • วิเคราะห์ผลกระทบ ทั้งบวกและลบ • กำหนดยุทธศาสตร์รองรับการเปลี่ยนแปลง • สร้างความเข้าใจ การรับรู้สู่ประชาชนในพื้นที่ โดยเฉพาะกลุ่มผลกระทบ เพื่อปรับตัว • ขยายผลสำหรับกลุ่มที่มีโอกาส ใช้จุดแข็งที่มี • พัฒนาบุคลากร เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง • ปรับปรุงกฎหมาย กฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง เพื่อประโยชน์ของประเทศ • สร้างเครือข่ายร่วมภาครัฐ เอกชน เพื่อร่วมดำเนินการ

  39. มาตรการรองรับผลกระทบของภาครัฐมาตรการรองรับผลกระทบของภาครัฐ

  40. ขอบคุณ “เรียนรู้ ใส่ใจ ใช้ประโยชน์ AEC” Call Center : 0-2507-7555 www.dtn.go.th

More Related