200 likes | 432 Views
Exchange rate Determination. EC 452. เศรษฐศาสตร์การเงินระหว่างประเทศ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554 คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. Introduction. ที่มาและความสำคัญ.
E N D
Exchange rate Determination EC 452 เศรษฐศาสตร์การเงินระหว่างประเทศ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554 คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
Introduction ที่มาและความสำคัญ ความผันผวนจากอัตราแลกเปลี่ยนจะส่งผลต่อระบบเศรษฐกิจ การรู้ปัจจัยที่กำหนดอัตราแลกเปลี่ยน ทำให้สามารถรักษาเสถียรภาพของระบบการเงินและระบบเศรษฐกิจได้ วัตถุประสงค์ของการศึกษา เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของปัจจัยต่างๆทางเศรษฐกิจที่ส่งผลกระทบต่อการกำหนดอัตราแลกเปลี่ยนระหว่างค่าเงินบาทกับค่าเงินดอลลาร์สหรัฐ
ขอบเขตของการศึกษา ศึกษาผลเชิงประจักษ์ของ Interest, Inflation, GDP, Capital inflow/outflow, Export/Import, Term of trade(TOT) โดยดูจากความสัมพันธ์ของตัวแปรต่าง ๆ ที่มีผลกระทบต่อการกำหนดอัตราแลกเปลี่ยน ใช้ข้อมูล รายเดือน ตั้งแต่ พฤษภาคม/2000 ถึง มิถุนายน/2011 ในการทดสอบทฤษฏีดังกล่าว ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1.ทำให้ทราบถึงความสัมพันธ์ของตัวแปรต่างๆ ซึ่งมีผลกระทบต่อการกำหนดอัตราแลกเปลี่ยนมากน้อยเพียงใด สอดคล้องกับทฤษฎีที่ได้เรียนมาในวิชา EC 452 หรือไม่ 2.ทำให้ภาครัฐสามารถดำเนินนโยบายที่มีประสิทธิภาพในการรักษาเสถียรภาพของระบบเศรษฐกิจ
Theory การปรับตัวของอัตราแลกเปลี่ยนตามกลไกตลาด • ดุลบัญชีการชำระเงิน = บัญชีเงินทุน + บัญชีเดินสะพัด • บัญชีเงินทุน • - Inflow > Outflow บาทแข็งค่าขึ้น • - Inflow < Outflow บาทอ่อนค่าลง • บัญชีเดินสะพัด • - Export > Import บาทแข็งค่าขึ้น • - Import< Export บาทอ่อนค่าลง
Interest Rate Parity Theory • ถ้าอัตราดอกเบี้ยระหว่าง 2 ประเทศต่างกัน เงินทุนจะไหลจากประเทศที่อัตราดอกเบี้ยต่ำกว่าไปยังประเทศที่มีอัตราดอกเบี้ยสูงกว่า • จนเข้าสู่เงื่อนไข Interest Rate Parity : RB = RS+(Ee-E)/E • ถ้า อัตราดอกเบี้ยไทยสูงขึ้น บาทแข็งค่าขึ้น • ถ้า อัตราดอกเบี้ยสหรัฐสูงขึ้น บาทอ่อนค่าลง
แนวคิดทางการเสมอภาคในอำนาจซื้อ [ Purchasing Power Parity approach (PPP) ] • เชื่อว่าอัตราแลกเปลี่ยนระหว่างเงินตราสองประเทศจะเท่ากับสัดส่วนของระดับราคาของทั้งสองประเทศ • แบบสัมบูรณ์ : EHC/FC = P/P* • แบบเปรียบเทียบ : ( Et-E t-1 )/ Et = πt-π*t • πt > π*tเงินบาทมีแนวโน้มที่จะอ่อนค่าลง • πt < π*tเงินบาทมีแนวโน้มที่จะแข็งค่าขึ้น
A Long-run Exchange Rate Model Based on PPP: Monetary Approach to the Exchange Rate • จากแนวความคิดการเสมอภาคในอำนาจซื้อ (PPP) โดยใช้ทฤษฎีตลาดการเงินเข้ามาอธิบายเพิ่มเติม • สูตร : E = (MS/MS*)/(MD/MD*) • ทำให้เรารู้เพิ่มเติมว่า ปริมาณเงิน, อัตราดอกเบี้ย, ระดับรายได้ ก็มีผลต่ออัตราแลกเปลี่ยนผ่าน ทาง PPP ได้ด้วย • ถ้า MS PE (บาทอ่อนค่าลง) • ถ้า rMDPE(บาทอ่อนค่าขึ้น) • ถ้า Y MDPE (บาทแข็งค่าขึ้น)
Methodology Variable Reviews
ตัวแปรที่ใช้ในแบบจำลองตัวแปรที่ใช้ในแบบจำลอง 1. ความแตกต่างของอัตราดอกเบี้ย (Different interest) DIt= ith- itf DItคือ ส่วนต่างระหว่างอัตราดอกเบี้ย ณ ช่วงเวลาที่ t ithคือ อัตราดอกเบี้ยประเทศไทย ณ ช่วงเวลาที่ t itf คือ อัตราดอกเบี้ยต่างประเทศ (ประเทศสหรัฐอเมริกา) • 2. ความแตกต่างของอัตราเงินเฟ้อ (Difference Inflation) • Dinft= πth- πtf • Dinftคือ ส่วนต่างระหว่างอัตราเงินเฟ้อ ณ ช่วงเวลาที่ t • πthคือ อัตราเงินเฟ้อประเทศไทย ณ ช่วงเวลาที่ t • πtfคือ อัตราเงินเฟ้อประเทศสหรัฐอเมริกา ณ ช่วงเวลาที่ t
3. ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (Manufacturing Production Index)MPIt คือ ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม ณ ช่วงเวลาที่ t 4.เงินทุนเคลื่อนย้ายโดยเปรียบเทียบ (Relative of capital flows) คือ สัดส่วนเงินทุนเคลื่อนย้ายโดยเปรียบเทียบ ณ ช่วงเวลาที่ t Capital inflowtคือ เงินทุนไหลเข้า ณ ช่วงเวลาที่ t Capital outflowtคือ เงินทุนไหลออก ณ ช่วงเวลาที่ t
5.มูลค่าการส่งออกและนำเข้าโดยเปรียบเทียบ (Relative export to import) RxmtRxmtคือ มูลค่าการส่งออกและนำเข้าโดยเปรียบเทียบณ ช่วงเวลาที่ tคือ มูลค่าการส่งออก ณ ช่วงเวลาที่ tคือ มูลค่าการนำเข้า ณ ช่วงเวลาที่ t
รูปที่ 1 กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง อัตราแลกเปลี่ยน & ส่วนต่างอัตราดอกเบี้ย รูปที่ 2 กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง อัตราแลกเปลี่ยน & ส่วนต่างเงินเฟ้อ Correlation = -0.495697 Correlation = -0.459086
รูปที่ 3 กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างอัตราแลกเปลี่ยน & MPI รูปที่ 4 กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างอัตราแลกเปลี่ยน & สัดส่วนเงินทุนไหลเข้า Correlation = -0.928450 Correlation = 0.047015
รูปที่ 5 กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างอัตราแลกเปลี่ยน & สัดส่วนมูลค่าการค้า รูปที่ 6 กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างอัตราแลกเปลี่ยน &อัตราการค้า Correlation = -0.048799 Correlation = -0.429772
แบบจำลองที่ใช้ในการศึกษาแบบจำลองที่ใช้ในการศึกษา Log (E) = 0.543923 -0.001446DI +0.004121DINF -0.000564MPI -0.047418Log(RKA) -0.039813Log(RXM) -0.001176TOT +0.001796TOT(-1) +0.857338Log(E(-1)) +0.359471AR(1)
แบบจำลองที่ใช้ในการศึกษาแบบจำลองที่ใช้ในการศึกษา
ข้อเสนอแนะของแบบจำลองและปัญหาที่พบข้อเสนอแนะของแบบจำลองและปัญหาที่พบ • แบบจำลองที่ใช้เป็นแบบจำลองที่ได้มาจากการประมาณค่าโดยวิธีกำลังสองน้อยที่สุด ซึ่งแบบจำลองนี้อาจจะไม่เหมาะสมกับการพยากรณ์อัตราแลกเปลี่ยนมากนัก • ตัวแปรที่ใช้ในแบบจำลองยังไม่ครบถ้วน อันเนื่องมาจากปัจจัยที่กำหนดอัตราแลกเปลี่ยนมีหลายปัจจัยมากรวมทั้งการแทรกแซงของธนาคารกลางและ shock ที่เกิดขึ้นในระบบเศรษฐกิจ • ข้อมูลที่ใช้ยังไม่ครอบคลุมระยะเวลาที่นานเพียงพออันเนื่องมาจากประเทศไทยพึ่งปรับอัตราแลกเปลี่ยนให้ลอยตัวในช่วงวิกฤตปี 40 • เกิดปัญหา Endogenous Variable อยู่
Recommend Policy จากผลการประมาณค่าในแบบจำลอง พบว่าปัจจัยที่มีผลในการกำหนดอัตราแลกเปลี่ยนมากที่สุดได้แก่ ปัจจัยทางด้านเงินทุนเคลื่อนย้าย และปัจจัยทางด้านบัญชีเดินสะพัด (ทั้งการนำเข้าและส่งออกสินค้า) ดังนั้นหากรัฐบาลต้องการที่จะควบคุมอัตราแลกเปลี่ยนให้เป็นไปในทิศทางที่ต้องการหรือเหมาะสม รัฐบาลสามารถดำเนินการผ่านช่องทางดังกล่าวเพื่อที่จะส่งผลไปยังอัตราแลกเปลี่ยนได้อย่างมีประสิทธิภาพมากกว่าช่องทางอื่นๆ
จัดทำโดย นาย ธนานันท์ กมลรัตน์มงคล 5104611222 นาย วิทวัต สุขพรสวรรค์ 5104611818 นาย วรุฒนิธิธนะกานต์ 5104680391 นาย นพดลมีนศิริสมบัติ 5104680474 นาย พีระสิษฐ์ ไตรรัตน์ผดุง 5104680490 น.ส. วานิสสา เสือนิล 5104680722 น.ส. ธีระนุช ตันธนะสฤษดิ์ 5014681399