1 / 19

RANDOMIZED CONTROLLED COMPARATIVE STUDY

RANDOMIZED CONTROLLED COMPARATIVE STUDY. Effects of traditional Thai massage versus joint mobilization on substance P and pain perception in patients with nonspecific low back pain. เสนอโดย นายสามารถ บัวดี นายธวัชชัย สุวรรณโท นางสาวอัญชลี โอฬารเสถียร.

Download Presentation

RANDOMIZED CONTROLLED COMPARATIVE STUDY

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. RANDOMIZED CONTROLLED COMPARATIVESTUDY Effects of traditional Thai massage versus joint mobilization on substance Pand pain perception in patients with nonspecific low back pain

  2. เสนอโดย นายสามารถ บัวดี นายธวัชชัย สุวรรณโท นางสาวอัญชลี โอฬารเสถียร

  3. ผลของการนวดไทยเทียบกับการเคลื่อนไหวข้อต่อที่มีผลต่อ substance P และการรับความรู้สึกเจ็บปวดในผู้ป่วยปวดหลังส่วนล่างแบบไม่เฉพาะเจาะจง วัตถุประสงค์ของการศึกษา เพื่อดูผลของการนวดไทยเปรียบเทียบกับการเคลื่อนไหวข้อแบบชาวตะวันตก ที่มีผลต่อระดับความเจ็บปวด

  4. สมมุติฐาน การนวดไทยจะลดความเจ็บปวดได้มากกว่าการเคลื่อนไหวข้อต่อในผู้ป่วยปวดหลังส่วนล่างแบบไม่เฉพาะเจาะจง วิธีการศึกษา ทำการสุ่มออกเป็นสองกลุ่ม กลุ่มที่ควบคุมโดย หน่วยกายภาพบำบัด มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประเทศไทย และมีสภาจริยธรรมของมหาวิทยาลัยขอนแก่นเป็นผู้อนุมัติขั้นตอนการวิจัย

  5. ผู้เข้าร่วมงานวิจัย -จำนวน 67คน นวดไทย 35 คน เคลื่อนไหวข้อ 32 คน -20-60 ปี -ปวดหลังส่วนล่างเรื้อรังมากกว่า 12 สัปดาห์

  6. ผู้ป่วยที่ถูกคัดออก -menstruation -pregnancy -body temp>35 C -acute trauma -back surgery -spinal fracture -joint subluxation/instability

  7. Inflammatory joint disease(RA/GOUT) • Muscle disease • Malignancy or infection • Neurologic deficits • MS • Hemi/Para paresis • Myelopathy • Skin disease/infectious disease(TB or AIDS)

  8. วิธีการทดลอง ช่วงที่1การหาช่วงเวลาของการตอบสนองของ Substance P ซึ่งทำโดย -ผู้ป่วย 10 คน (TTM 5 คน, Mobilization 5 คน) -TTM 10 นาที ,Mobilization gr.2 5นาที/เซต ทำ 2 เซต, ตั้งแต่ระดับ L2-L5 -ตรวจหา Substance P จากน้ำลาย

  9. สรุป -Substance P จะเปลี่ยนแปลงภายใน 5 นาที หลังจากการรักษา -กลับสู่ค่ามาตรฐาน 10 นาทีหลังจากการรักษา -ดังนั้นน้ำลายจะถูกเก็บก่อนและหลังการรักษา 5 นาที ซึ่งเป็นค่าที่ถูกต้องในการนำไปประเมินในส่วนที่ 2 ของการทดลองต่อไป

  10. ส่วนที่ 2 -visual analog scale ก่อนและหลังการรักษา 5 นาที วัดในทั้งสองกลุ่ม -วัด Substance P ในน้ำลาย การวิเคราะห์สถิติ -Pair t-test -ANCOVA

  11. Mobilization points

  12. Massage points

  13. อภิปราย -เป็นการศึกษาประสิทธิภาพของการนวดไทยเทียบกับการเคลื่อนไหวข้อต่อ ต่อความเจ็บปวด ในผู้ป่วยที่ปวดหลังแบบไม่เฉพาะเจาะจง -ทั้งสองวิธีนี้เป็นการลดปวดได้ชั่วคราว -ระดับของ Substance P ไม่แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติในทั้งสองกลุ่ม -VAS ในกลุ่มนวดไทยจะต่ำกว่ากลุ่มการเคลื่อนไหวข้อต่อเล็กน้อย -ผลการศึกษาสนับสนุนสมมุติฐาน

  14. สรุป -การทดลองของทั้งสองกลุ่มนี้สามารถลดปวดได้ชั่วคราว ในผู้ป่วยที่มีอาการปวดหลังแบบไม่เฉพาะเจาะจง -ผลของการนวดไทยจะมีประสิทธิภาพมากกว่าการเคลื่อนไหวข้อต่อ

More Related