1 / 15

How do TB projects support the program?

How do TB projects support the program?. The 1 st Thailand Stop TB Partnership Meeting 2010 June 30, 2010. ตอบคำถามจากหัวข้อสัมมนา.

dai
Download Presentation

How do TB projects support the program?

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. How do TB projects support the program? The 1st Thailand Stop TB Partnership Meeting 2010 June 30, 2010 PR- WVFT TB RAM

  2. ตอบคำถามจากหัวข้อสัมมนาตอบคำถามจากหัวข้อสัมมนา แรงงานข้ามชาติที่เข้ามาในประเทศไทยส่วนใหญ่มารับจ้างแรงงานในอาชีพประมง งานก่อสร้าง งานในโรงงาน งานรับจ้างในสวนยาง เป็นต้น ซึ่งแรงงานเหล่านี้มีเพียงบางส่วนเท่านั้นที่ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นแรงงานถูกกฎหมาย และได้รับการดูแลด้านสุขอนามัยจากภาครัฐ ในขณะที่ส่วนใหญ่เป็นแรงงานผิดกฎหมาย และไม่อาจเข้าถึงบริการสาธารณสุข จุดนี้เองที่โครงการภายใต้การดำเนินงานของมูลนิธิศุภนิมิตจะมีส่วนเข้ามาเติมเต็มให้กับกลุ่มเป้าหมายเหล่านี้ เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของแผนงานวัณโรคแห่งชาติให้เกิดความครอบคลุมประชากรทุกกลุ่มในประเทศไทย PR- WVFT TB RAM

  3. PR- WVFT TB RAM

  4. การดำเนินงานโครงการด้านวัณโรคการดำเนินงานโครงการด้านวัณโรค ในกลุ่มแรงงานข้ามชาติ โดย มูลนิธิศุภนิมิตแห่งประเทศไทย PR- WVFT TB RAM

  5. การดำเนินงานโครงการด้านวัณโรคที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนโลกการดำเนินงานโครงการด้านวัณโรคที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนโลก โครงการด้านวัณโรค รอบที่ 1 “ โครงการพัฒนาการดำเนินงานควบคุมวัณโรคที่เน้นกลวิธี กำกับการรักษา (DOTS) ในกลุ่มแรงงานอพยพ” มูลนิธิศุภนิมิตแห่งประเทศไทย ดำเนินงานในฐานะหน่วยงานผู้รับทุนรอง (SR) ระยะเวลาการดำเนินงาน ปี 2546 - 2550 พื้นที่ดำเนินการ ได้แก่ จังหวัดพังงา และระนอง

  6. การดำเนินงานโครงการด้านวัณโรคที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนโลกการดำเนินงานโครงการด้านวัณโรคที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนโลก โครงการด้านวัณโรค รอบที่ 6 “โครงการโครงการลดอัตราการป่วยด้วยวัณโรคในกลุ่ม แรงงานข้ามชาติ มูลนิธิศุภนิมิตแห่งประเทศไทย ดำเนินงานในฐานะหน่วยงาน ผู้รับทุนหลัก (PR) และหน่วยงานผู้รับทุนรอง (SR) ระยะเวลาการดำเนินงาน ปี 2551 - 2555 พื้นที่ดำเนินการ ได้แก่ จังหวัดตาก กาญจนบุรี ชุมพร พังงา ระนอง และภูเก็ต • การดำเนินงานระยะที่ 1 ประกอบด้วย หน่วยงานผู้รับทุนรอง 2 หน่วยงาน • มูลนิธิศุภนิมิต ฯ • องค์กร ARC (American Refugee Committee ) • การดำเนินงานระยะที่ 2 ประกอบด้วย หน่วยงานผู้รับทุนรอง 3 หน่วยงาน • มูลนิธิศุภนิมิต ฯ • องค์กร ARC (American Refugee Committee ) • โรงพยาบาลคริสเตียนแม่น้ำแควน้อย (KRCH)

  7. การดำเนินงานโครงการด้านวัณโรคที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนโลกการดำเนินงานโครงการด้านวัณโรคที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนโลก โครงการด้านวัณโรค รอบที่ 8 “ โครงการเสริมสร้างความเข้มแข็งการควบคุมวัณโรคอย่าง มีคุณภาพในกลุ่มประชากรด้อยโอกาส และการเสริมสร้างพลัง ชุมชนเพื่องานวัณโรค” มูลนิธิศุภนิมิตแห่งประเทศไทย ดำเนินงานในฐานะหน่วยงานผู้รับทุนย่อย (SSR) ภายใต้ หน่วยงานผู้รับทุนรอง (SR) มูลนิธิรักษ์ไทย ระยะเวลาการดำเนินงาน ปี 2552 - 2557 พื้นที่ดำเนินการ ได้แก่ จังหวัดนนทบุรี

  8. รูปแบบการควบคุมวัณโรครูปแบบการควบคุมวัณโรค การสนับสนุน เชิงนโยบาย ระบบข้อมูลสุขภาพ ที่มีประสิทธิภาพ องค์กรที่มี ประสิทธิภาพ ด้านการบริการ ลดอัตราการเกิด ผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ ค้นหาผู้ป่วย เริ่มการรักษา ตรวจอาการ ค้นหา ผู้ใกล้ชิดผู้ป่วย DOT ที่มีคุณภาพ จ่ายยาที่มีระสิทธิภาพ รักษาครบ รักษาหาย ประชาชน มีคุณภาพชีวิตที่ดี เจ้าหน้าที่ ได้รับการอบรม การมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคม ผลการวิจัย ศุภนิมิตสนับสนุนขั้นตอนใด PR- WVFT TB RAM ดัดแปลงจากข้อมูลจากคุณสุขสันต์ จิตติมณี สำนักวัณโรค

  9. ผลสำเร็จการดำเนินงานที่ผ่านมาผลสำเร็จการดำเนินงานที่ผ่านมา • การค้นหารายป่วย (case detection) 80-100 ราย ต่อปี (all TB cases) • อัตราผลสำเร็จของการรักษา (treatment success) >80% PR- WVFT TB RAM

  10. การกำกับการกินยาต่อหน้าโดยอาสาสมัครสาธารณสุขต่างด้าว (อสต.) การให้ความรู้ด้านสุขภาพกับพนักงานในโรงงานทอผ้า โดย พนักงานสาธารณสุขต่างด้าว (พสต.)

  11. กิจกรรมรณรงค์ในวันวัณโรคโลกกิจกรรมรณรงค์ในวันวัณโรคโลก การแจกโปสเตอร์ให้คนในชุมชน ในวันวัณโรคโลก ปี 2551 กิจกรรมการให้ความรู้ด้านสุขภาพกับชุมชน ในวันวัณโรคโลก ปี 2552 กิจกรรม “มวลชน รวมพลัง หยุดยั้งวัณโรค” ณ สถานีรถไฟหัวลำโรง ในวันวัณโรคโลก ปี 2553

  12. บทเรียนการดำเนินงาน (Best practices) • การประสานความร่วมมือระหว่างหน่วยงานภาครัฐ และเอกชน (โรงพยาบาล สคร. สสจ. สำนักวัณโรค และองค์กรเอกชนต่างๆ) ซึ่งองค์กรเอกชนทำงานใกล้ชิดกับโรงพยาบาลของรัฐมากขึ้น • มีอัตราการขึ้นทะเบียนของผู้ป่วยวัณโรคเสมหะบวกรายใหม่สูงขึ้น (มากกว่าร้อยละ 90) • เกิดอัตราการเปลี่ยนแปลงของเสมหะในผู้ป่วยวัณโรคมากขึ้น (เฉลี่ยร้อยละ 92) • ความสำเร็จของการสร้างความตระหนักเพื่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงในระดับท้องถิ่น และการสื่อสารกับชุมชน (สถานบริการสุขภาพชุมชน (health post) ที่จัดตั้งโดยคนในชุมชน และมีอาสาสมัครดำเนินงาน) PR- WVFT TB RAM

  13. ประเด็นท้าทาย(Challenges) • ความน่าเชื่อถือและการมีส่วนร่วมกับหน่วยงานราชการในการดำเนินงาน • มีระยะเวลาในการดำเนินงานขึ้นกับงบประมาณ (project-based timeline) ทำให้งานขาดความต่อเนื่อง • การดำเนินงานในพื้นที่เข้าถึงยากบริเวณตะเข็บชายแดน PR- WVFT TB RAM

  14. ข้อสังเกต / ประเด็นห่วงใย แผนรองรับการส่งต่อรายป่วยวัณโรคดื้อยาหลายขนาน (MDR-TB) ในกลุ่มแรงงานข้ามชาติ ที่อยู่ในพื้นที่การดำเนินงานโครงการกองทุนโลกรอบที่ 6 แต่นอกเหนือจากพื้นที่รอบที่ 8 การประสานความร่วมมือด้านสาธารณสุขระหว่างประเทศ ในการส่งต่อรายป่วย เมื่อต้องการกลับไปรักษาต่อที่ประเทศตนเอง แผนควบคุมวัณโรคต้องกำหนดบทบาทของแต่ละหน่วยงานไว้อย่างชัดเจน โดยเน้นจุดแข็งในการดำเนินงานของแต่ละหน่วยงาน แนวทางความร่วมมือในการดำเนินกิจกรรมรณรงค์เพื่อการควบคุมวัณโรค ที่เป็นเอกภาพ PR- WVFT TB RAM

  15. ขอบคุณ PR- WVFT TB RAM

More Related