1 / 7

พัฒนาการของประถมศึกษาไทย สมัยธนบุรี

พัฒนาการของประถมศึกษาไทย สมัยธนบุรี.

dafydd
Download Presentation

พัฒนาการของประถมศึกษาไทย สมัยธนบุรี

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. พัฒนาการของประถมศึกษาไทยสมัยธนบุรีพัฒนาการของประถมศึกษาไทยสมัยธนบุรี

  2. สมัยกรุงธนบุรีเป็นสมัยที่มีระยะเวลาช้ามาก และเป็นเวลาที่เริ่มตั้งตัวเป็นอิสระบ้านเมืองยังไม่สงบเรียบร้อย จึงทุ่มเทเวลาเพื่อการจัดการบ้านเมืองมากกว่าที่จะทำนุบำรุงการศึกษา จึงไม่ปรากฏว่า มีการคลื่นไหวในเรื่องการศึกษาแต่อย่างใด การศึกษายังคงมีศูนย์กลางอยู่ที่วัด ไม่มีการแบ่งชั้นเรียนที่แน่นอน การเรียนการสอนก็แล้วแต่อาจารย์ผู้สอน ผู้เรียนที่มีสติปัญญาดีและมีความขยันหมั่นเพียรก็จะมีความรู้มาก อ้างอิง : หนังสือการประถมศึกษาไทย

  3. สมัยพระเจ้ากรุงธนบุรีเป็นระยะเก็บรวบรวมสรรพตำราจากแหล่งต่าง ๆ ที่รอดพ้นจากการทำลายของพม่า เน้นการทำนุบำรุงตำราทางศาสนา ศิลปะและวรรณคดี  อ้างอิง http://www.kroobannok.com/33455

  4. อ้างอิง : http://www4.eduzones.com/dakkaokaew/39773 ด้านการศึกษา ในสมัยธนบุรียังคงอยู่ที่วัดเหมือนเมื่อสมัยอยุธยานั้นคือการเรียนที่วัดมีพระสอนหนังสือและยังคงใช้แบบเรียนจินดามณีซึ่งส่วนใหญ่จะเน้นเรื่องวิธีแต่งกาพย์กลอน ศึกษาศัพท์เขมร บาลีสันสฤตด้วยเพื่อประโยชน์ในการอ่านคัมภีร์พระพุทธศาสนา นอกนั้นก็เป็นวิชาเลขซึ่งนำใช้ในชีวิตประจำวัน สำหรับวิชาชีพพ่อแม่มีอาชีพอะไรก็ถ่ายทอดวิชานั้นให้แก่ลูกหลาน เช่น วิชาแพทย์โบราณ วิชาช่างปั้น ช่างถม ช่างแกะสลัก ช่างปั้นปูน ช่างเหล็กฯ ส่วนเด็กหญิงถือตามประเพณีโบราณคือ การเย็บปักถักร้อย ทำกับข้าว และการฝึกอบรมมารยาทของกุลสตรี สมัยนั้นไม่นิยมให้ผู้หญิงเรียนหนังสือจึงมีน้อยคนนักที่อ่านออกเขียนได้

  5. แม้ว่ากรุงธนบุรีเป็นพระนครหลวงของไทยอยู่เพียง ๑๕ ปี และเป็น ๑๕ ปีแห่งการทำสงคราม ถึงกระนั้นกรุงธนบุรี ก็ยังได้วางพื้นฐานทั้งในด้านการค้า การศาสนา และอักษรศาสตร์ ไว้ให้กับ ราชอาณาจักรไทยอย่างมั่นคง ทั้งนี้ด้วย พระอัจฉริยภาพของสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีโดยแท้ การศึกษาในสมัยกรุงธนบุรี แม้จะไม่เจริญก้าวหน้านัก แต่ก็เป็นการเริ่มต้นทางการศึกษาที่เป็น พื้นฐานให้เกิดความเจริญก้าวหน้าทางการศึกษาในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ อ้างอิง : http://www.watnawong.ac.th/news/5712.html

  6. สมาชิก นางสาวขนิษฐา เพิ่มธัญกิจ551121801นางสาววารี กิจขุนทด551121813นางสาวสุมินตรา ต๊กควรเฮง551121818นางสาวณัฐสุดา หุ่นเที่ยง551121819นางสาวปภัสรา สายป่าน551121838

More Related