1 / 39

การพิจารณาความผิดและกำหนดโทษ และการลงโทษทางวินัย

การพิจารณาความผิดและกำหนดโทษ และการลงโทษทางวินัย. โดย พัชรา เพ็ชรทวี. ประกาศคณะกรรมการกลาง........ เรื่อง มาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับวินัย.

Download Presentation

การพิจารณาความผิดและกำหนดโทษ และการลงโทษทางวินัย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การพิจารณาความผิดและกำหนดโทษและการลงโทษทางวินัย โดย พัชรา เพ็ชรทวี

  2. ประกาศคณะกรรมการกลาง........เรื่อง มาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับวินัย......... ข้อ 1 พนักงานส่วนท้องถิ่นต้องรักษาวินัยตามที่กำหนดเป็นข้อห้ามและข้อปฏิบัติโดยเคร่งครัดอยู่เสมอข้อ 21 ....ผู้ใดฝ่าฝืนข้อห้ามหรือไม่ปฏิบัติตามข้อปฏิบัติ...ให้ถือว่าผู้นั้นกระทำผิดวินัย....จักต้องได้รับโทษทางวินัย 2

  3. ข้อ 20ให้ผู้บังคับบัญชามีหน้าที่เสริมสร้าง และพัฒนาให้ผู้ใต้บังคับบัญชามีวินัยป้องกัน มิให้ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชากระทำผิดวินัย และดำเนินการทางวินัยแก่ผู้ใต้บังคับบัญชา ซึ่งมีกรณีอันมีมูลที่ควรกล่าวหาว่ากระทำผิดวินัย 3

  4. การดำเนินการทางวินัย การสืบสวน การตั้งเรื่องกล่าวหา(การตั้งคณะกรรมการสอบสวน) การสอบสวน การพิจารณาความผิดและกำหนดโทษ การลงโทษ พักราชการ ให้ออกฯ ไว้ก่อน 4

  5. ขั้นตอนของกระบวนการพิจารณาความผิด กำหนดโทษและการลงโทษ เมื่อการสอบสวนวินัยได้ข้อเท็จจริงเป็นยุติ พิจารณาความผิดว่าผิดหรือไม่ ? ข้อใด ? พิจารณากำหนดโทษ ว่าควรได้รับโทษสถานใด ? การสั่งลงโทษ 5

  6. การพิจารณาความผิดและกำหนดโทษ คือ การพิจารณาวินิจฉัยว่า ผู้ถูกกล่าวหาได้กระทำผิดวินัยในกรณีใดตามข้อใดและควรจะลงโทษในสถานใดหรือไม่ ทั้งนี้ เป็นกระบวนการที่จะต้องทำโดยผู้มีอำนาจหน้าที่ในการพิจารณาตามที่กฎหมายกำหนดไว้ 6

  7. หลักการพิจารณาความผิดหลักการพิจารณาความผิด 2. หลักมโนธรรม 1. หลักนิติธรรม 7

  8. หลักนิติธรรม คือการพิจารณาตามตัวบทกฎหมาย - มีบทกฎหมายบัญญัติเป็นความผิด - การกระทำเข้าองค์ประกอบ ความผิดทุกประการ 8

  9. ข้อ 3 วรรคสาม“การปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ราชการโดยมิชอบ เพื่อให้ตนเองหรือผู้อื่นได้รับประโยชน์ ที่มิควรได้ เป็นการทุจริตต่อหน้าที่ราชการ..." 1. มีหน้าที่ องค์ประกอบ 2.ปฏิบัติ / ละเว้นโดยมิชอบ 3.เพื่อให้ตนเอง/ผู้อื่นได้รับประโยชน์ที่มิควรได้ 4.โดยเจตนาทุจริต 9

  10. ข้อ 13“พนักงานท้องถิ่นต้องอุทิศเวลาของตนให้แก่ราชการจะละทิ้งหรือทอดทิ้งหน้าที่ราชการมิได้..” องค์ประกอบ คือ 1. มีหน้าที่ราชการ 2. ละทิ้ง / ทอดทิ้งหน้าที่ 3. เจตนา 10

  11. ข้อ 19 ข้าราชการ 1.ต้องรักษาชื่อเสียงของตน 2.ต้องรักษาเกียรติศักดิ์ของตำแหน่งหน้าที่ 3.โดยไม่กระทำการใด ๆ อันได้ชื่อว่าเป็น ผู้ประพฤติชั่ว

  12. แนวทางการพิจารณาเรื่องแนวทางการพิจารณาเรื่อง • “ ประพฤติชั่ว” • เสียเกียรติของตำแหน่งหน้าที่ • สังคมรังเกียจ • กระทำโดยเจตนา

  13. หลักมโนธรรมหมายถึง พิจารณาทบทวนให้รอบคอบคำนึงถึงความเป็นจริงความถูกต้องเหมาะสมที่ควรจะเป็น 13

  14. การกำหนดโทษ การพิจารณาว่า ผู้กระทำผิดสมควร ถูกลงโทษสถานใด 14

  15. โทษทางวินัยมี 5 สถาน 1. ภาคทัณฑ์ 2. ตัดเงินเดือน 3. ลดขั้นเงินเดือน 4. ปลดออก 5. ไล่ออก 15

  16. หลักการกำหนดโทษ 1. หลักนิติธรรม 2. หลักมโนธรรม 3. หลักความเป็นธรรม 4. นโยบายของทางาชการ 16

  17. 1.หลักนิติธรรมในการกำหนดโทษ คือ คำนึงถึงโทษ / ระดับโทษ ที่ กม.กำหนด • โทษทางวินัยมี 5 สถาน (21) • ความผิดไม่ร้ายแรง กำหนดโทษสถานเบา (67) ความผิดเล็กน้อย จะงดโทษให้ก็ได้ (ว่ากล่าวตักเตือน / ทัณฑ์บน) • ความผิดร้ายแรง กำหนดโทษสถานหนัก (68)

  18. 2. หลักมโนธรรมในการกำหนดโทษ คือ การพิจารณาทบทวนให้รอบคอบ โดยคำนึงถึงความถูกต้อง เหมาะสม ตามเหตุผลที่ควรจะเป็น ภายในขอบเขตระดับโทษ ตามที่กฎหมายกำหนด 18

  19. เหตุผลประกอบการพิจารณาเหตุผลประกอบการพิจารณา * ลักษณะของการกระทำผิด * ผลแห่งการกระทำ • * คุณความดี * การรู้หรือไม่รู้ว่าการกระทำนั้นเป็นความผิด * การให้โอกาสแก้ไขความประพฤติ * เหตุเบื้องหลังการกระทำผิด * สภาพของผู้กระทำผิด 19

  20. 3. หลักความเป็นธรรมคือ การวางโทษเสมอหน้ากัน ใครทำผิดก็ต้องถูกลงโทษ - ไม่เลือกที่รักมักที่ชัง - ความผิดอย่างเดียวกัน ควรกำหนดโทษเท่ากัน / ใกล้เคียงกัน 20

  21. 4. นโยบายของทางราชการใน การลงโทษข้าราชการ - นโยบายของรัฐบาล - มติคณะรัฐมนตรี - มติ ก.พ. - มติ ก. กลาง - นโยบายของผู้บริหารท้องถิ่น .................... .................... ....................... 21

  22. การลงโทษทางวินัย 22

  23. การดำเนินการทางวินัย การตั้งเรื่องกล่าวหา(การตั้งคณะกรรมการสอบสวน) การสอบสวน การพิจารณาความผิดและกำหนดโทษ การลงโทษ พักราชการ ให้ออกฯ ไว้ก่อน 23

  24. จุดมุ่งหมายของการลงโทษทางวินัยจุดมุ่งหมายของการลงโทษทางวินัย 1. รักษาความศักดิ์สิทธิ์ของ กม. 2. รักษามาตรฐานความประพฤติ ขวัญ และสมรรถภาพของพนักงาน 3. จูงใจให้พนักงานปรับปรุงตนเองให้ดีขึ้น 4. รักษาชื่อเสียงของราชการและความเชื่อมั่นของประชาชนต่อราชการ 24

  25. ข้อควรคำนึงในการลงโทษข้อควรคำนึงในการลงโทษ 1. ผู้สั่งลงโทษต้องเป็น ผบ. 2. ผู้ถูกสั่งลงโทษต้องเป็น ผตบ. 3. สภาพการเป็นพนักงาน 4. อำนาจการลงโทษ 5. ขั้นตอนการดำเนินการ 6. การสั่งต้องไม่ย้อนหลัง 25

  26. 1. ผู้สั่งลงโทษ (1) ผบ. ตามที่ กม. บัญญัติให้อำนาจไว้ - พระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลส่วน ท้องถิ่น พ.ศ. 2542 - มาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับวินัยและการรักษาวินัย และ การดำเนินการทางวินัย 26

  27. 2. ผู้ถูกสั่งลงโทษต้องเป็น ผตบ. พนักงานที่โอนย้าย ระหว่างสอบสวน 27

  28. 3. สภาพการเป็นพนักงาน การสั่งลงโทษจะมีผลใช้บังคับได้ต่อเมื่อพนักงานท้องถิ่นผู้นั้นยังมีสภาพเป็นพนักงานอยู่ เว้นแต่เข้าตามกรณี ข้อ 24 ของ มาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับวินัย 28

  29. การลงโทษทางวินัยแก่ผู้ที่ออกไปแล้วทำได้ในกรณีการลงโทษทางวินัยแก่ผู้ที่ออกไปแล้วทำได้ในกรณี 1. ถูกกล่าวหาร้ายแรงอยู่ก่อนออก - เป็นหนังสือ - ต่อ ผบ. / ผู้มีหน้าที่สืบสวนสอบสวน ตรวจสอบ/ หรือ ผบ.เป็นผู้กล่าวหา 2. ถูกฟ้อง / ต้องหาว่ากระทำผิดอาญาอยู่ก่อน เว้นแต่ ความผิดที่ได้กระทำโดยประมาทที่ไม่เกี่ยวกับ ราชการ / ความผิดลหุโทษ 29

  30. ข้อยกเว้น ตามข้อ 24 1. ตาย ดำเนินการไม่ได้ 2. โทษภาคทัณฑ์ ตัดเงินเดือน ลดขั้นเงินเดือน ให้งดเสีย 30

  31. 4. อำนาจการสั่งลงโทษ ไม่ร้ายแรง ข้อ 67 วรรคหนึ่ง “.....ให้นายก.....สั่งลงโทษภาคทัณฑ์ ตัดเงินเดือน หรือลดขั้นเงินเดือนตามควรแก่กรณี....” วรรคสาม “นายก.....มีอำนาจลงโทษตัดเงินเดือน และลดขั้นเงินเดือนข้าราชการ......ตามวรรคหนึ่งได้ดังนี้ (1) ตัดเงินเดือนครั้งหนึ่งไม่เกิน 5% และเป็นเวลาไม่เกิน 3 ดือน (2) ลดขั้นเงินเดือนครั้งหนึ่งไม่เกินหนึ่งขั้น (มาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับวินัยฯ ของ ก.จ.) 31

  32. ร้ายแรง ข้อ 68 วรรคหนึ่ง “ภายใต้บังคับวรรคสองแห่งข้อนี้ ข้าราชการ....กระทำผิดวินัยอย่างร้ายแรง ให้นายก....สั่งลงโทษปลดออกหรือไล่ออกตามความร้ายแรงแห่งกรณี ถ้ามีเหตุอันควรลดหย่อนจะนำมาประกอบการพิจารณาลดโทษก็ได้ แต่ห้ามมิให้ลงโทษต่ำกว่าปลดออก” (มาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับวินัยฯ ของ ก.จ.) 32

  33. 5. ขั้นตอนการดำเนินการถูกต้องหรือไม่ ( ข้อ 22 ) - วินัยอย่างร้ายแรง ต้องแต่งตั้ง คกส.เว้นแต่ความผิดที่ปรากฏชัดแจ้ง - โทษร้ายแรงต้องนำเสนอต่อ ก. 33

  34. 6. การสั่งลงโทษต้องไม่ย้อนหลัง หลัก สั่งลงโทษย้อนหลังไม่ได้ เว้นแต่ เข้าข้อยกเว้น 34

  35. ข้อยกเว้นในการสั่งลงโทษย้อนหลังข้อยกเว้นในการสั่งลงโทษย้อนหลัง 1. มีการเปลี่ยนแปลงโทษ 2. มีการสั่งพัก/ให้ออกจากราชการไว้ก่อน 3. กรณีละทิ้งหน้าที่ราชการ 35

  36. 1. กรณีมีการเปลี่ยนแปลงโทษ ไม่ร้ายแรง ไม่ร้ายแรง ร้ายแรง ร้ายแรง เป็นการลงโทษครั้งเดียว 36

  37. 2. กรณีมีการสั่งพัก/ให้ออกจากราชการไว้ก่อน เฉพาะโทษร้ายแรงเท่านั้น 3. กรณีละทิ้งหน้าที่ราชการ เฉพาะการละทิ้งที่ไม่กลับมาปฏิบัติ ราชการอีกเลย 37

  38. ข้อ 69 ...ให้แสดงให้ชัดเจนว่า ผู้ถูกลงโทษกระทำผิดวินัยโดยมีข้อเท็จจริง...พยานหลักฐาน และเหตุผล...อย่างไร เป็นการกระทำผิดวินัยกรณีใด ตามข้อใด ... และระบุสิทธิในการอุทธรณ์ และระยะเวลาสำหรับการอุทธรณ์ไว้ในคำสั่งด้วย ...... ลักษณะของคำสั่งลงโทษ 38

  39. สำนักมาตรฐานวินัยสำนักงาน ก.พ. โทร. (02) 547 - 1631โทรสาร (02) 547 - 1630

More Related