400 likes | 1.3k Views
รพ.พุทธมณฑล. การพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน แบบบูรณาการ. คณะกรรมการดูแลด้านคลินิก (PCT) โรงพยาบาลพุทธมณฑล. อันดับ 2 ผู้ป่วยนอก อันดับ 2 ผู้ป่วยใน. จำนวนผู้ป่วยเบาหวานมีแนวโน้มสูงขึ้น. มีภาวะแทรกซ้อน ตา ไต เท้า. คุณภาพชีวิตผู้ป่วยแย่ลง. ค่าใช้จ่ายในการดูแลสูง.
E N D
การพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยเบาหวานการพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน แบบบูรณาการ คณะกรรมการดูแลด้านคลินิก (PCT) โรงพยาบาลพุทธมณฑล
อันดับ 2 ผู้ป่วยนอก อันดับ 2 ผู้ป่วยใน จำนวนผู้ป่วยเบาหวานมีแนวโน้มสูงขึ้น มีภาวะแทรกซ้อน ตา ไต เท้า คุณภาพชีวิตผู้ป่วยแย่ลง ค่าใช้จ่ายในการดูแลสูง ปัญหาและสาเหตุโดยย่อ
ผู้ป่วยรอตรวจนาน เพิ่มบุคลากรในการดูแลมากขึ้น เพิ่มภาระของครอบครัวด้านร่างกาย จิตใจ ปัญหาและสาเหตุโดยย่อ(ต่อ)
จัดทำ CPGและ Standing Order พัฒนาบุคลากรในการดูแลผู้ป่วยเบาหวานให้ได้ ตามมาตรฐาน โดยส่งบุคลากร องค์กรแพทย์ เภสัชกรรม พยาบาลวิชาชีพ ครอบครัวและ ชุมชนเข้ารับการอบรม การเปลี่ยนแปลง
แนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วย Hypoglycemia DTX ≤ 60 Mg% ซึม, ไม่รู้สึกตัว รู้สึกตัวดี ดื่มน้ำหวาน 1 แก้ว • รายงานแพทย์เวร (ER) • 50% glucose 50 cc. vein push stat • 10% D/N/2 1,000 cc vein 80 cc/hr • Admit (Standing order) เจาะ DTX ซ้ำอีก 1 hr. DTX ≤ 60 Mg% DTX ≥ 60 Mg% • รายงานแพทย์เวร (ER) • 50% glucose 50 cc. vein push stat • 10% D/N/2 1,000 cc vein 80 cc/hr • Admit (Standing order) ส่งพบแพทย์ (OPD)
แนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วย Hyperglycemia DTX = 180 – 250 Mg% DTX = 251 – 400 Mg% DTX > 400 Mg% • รายงานแพทย์ • RI 10 unit vein stat • 0.9% NSS 1,000 cc. vein 80 cc/hr • Admit (Standing order) • พิจารณาปรับยาเบาหวาน • พิจารณาการใช้ Insulin • ในกรณี max dose oral drug • พิจารณาปรับยาเบาหวาน • พิจารณาการใช้ Insulin • ในกรณี max dose oral drug • ส่ง ER ฉีด RI ตาม scale ต่อไปนี้ * DTX = 251 – 300 mg% RI 6 unit sc. Stat * DTX = 301 – 350 mg% RI 8 unit sc. Stat * DTX = 351 – 400 mg% RI 10 unit sc. Stat เกณฑ์การนัดผู้ป่วยเบาหวาน FBS = 60 – 180 mg% นัด 1 เดือน = 181 – 250 mg% นัด 2 สัปดาห์ – 1 เดือน = 251 – 400 mg% นัด 1 สัปดาห์ – 2 สัปดาห์
จัดกิจกรรมส่งเสริมการดูแลตนเองของผู้ป่วยจัดกิจกรรมส่งเสริมการดูแลตนเองของผู้ป่วย ครอบครัวชุมชน โดยการจัดกิจกรรมในคลินิก เบาหวาน การเยี่ยมบ้าน การเปลี่ยนแปลง
เพิ่มการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนเพิ่มการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อน ตา ไต เท้า ไขมันในเลือด การเปลี่ยนแปลง
ทบทวนเวชระเบียนผู้ป่วยเบาหวานในหน่วยงานทบทวนเวชระเบียนผู้ป่วยเบาหวานในหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง กำหนดตัวชี้วัด กำหนดการติดตาม ประเมินผลการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน การเปลี่ยนแปลง
เริ่มพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยเบาหวานในเริ่มพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยเบาหวานใน โรงพยาบาลตำบลและสถานีอนามัยในเครือข่าย การเปลี่ยนแปลง
การคัดกรอง การปรับพฤติกรรม การดูแลรักษา ทั้งผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน การดูแลต่อเนื่องที่บ้าน โดยความร่วมมือของผู้ป่วย ครอบครัวและชุมชน เพิ่มคุณภาพชีวิตที่ดี ทุกหน่วยงานดูแลผู้ป่วยอย่างมีคุณภาพตามมาตรฐาน ลดอัตราป่วยรายใหม่ อัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนลดลง สรุปผลงานโดยย่อ / เป้าหมาย
ผลลัพธ์ คุณภาพชีวิตดีขึ้น ลดภาระการดูแลผู้ป่วย การดูแลผู้ป่วยโดยทีมสหวิชาชีพ การคัดกรอง การรักษาพยาบาล การสร้าง/ส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพ ครอบคลุม เกิดประสิทธิภาพ อัตราการป่วยและภาวะแทรกซ้อนลดลง
ผลลัพธ์ มาตรฐานในการดูแลผู้ป่วย แนวทางการดูแล เกิดความรู้ ความเข้าใจ ทิศทางเดียวกัน การสื่อสาร ประสานงานที่ดี
ADL ก่อนการดูแล 45 คะแนน ADL หลังการดูแล 90 คะแนน
กราฟแสดงการคัดกรองโรคเบาหวานกลุ่มเสี่ยงกราฟแสดงการคัดกรองโรคเบาหวานกลุ่มเสี่ยง
กราฟแสดงตัวชี้วัดการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนกราฟแสดงตัวชี้วัดการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อน
ข้อมูลด้านคุณลักษณะประชากรข้อมูลด้านคุณลักษณะประชากร
กราฟแสดงจำนวนผู้ป่วยเบาหวาน โดยแบ่งตามเพศ