1 / 11

ตัวอย่างที่ 1

ตัวอย่างปัญหาการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์. ตัวอย่างที่ 1

cullen
Download Presentation

ตัวอย่างที่ 1

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ตัวอย่างปัญหาการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ตัวอย่างปัญหาการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ ตัวอย่างที่ 1 เครื่องบินทิ้งระเบิดลำหนึ่งกำลังบินตามแนวระดับด้วยความเร็วคงที่ 720 กิโลเมตรต่อชั่วโมง อยู่สูงจากพื้นดินเป็นระยะทาง 2 กิโลเมตร เมื่อเครื่องบินลำนี้ปล่อยลูกระเบิดลงสู่เป้าหมายบนพื้นดิน ปรากฏว่าลูกระเบิดลงสู่เป้าหมายพอดี มุมที่นักบินเล็งเป้าหมายด้วยกล้องส่องทางไกลขณะปล่อยลูกระเบิดนั้น จะเป็นกี่องศาเทียบกับแนวทางการเคลื่อนที่ของเครื่องบิน

  2. ตัวอย่างที่ 2 เมื่อเล็งปากกระบอกปืนตรงเป้าหมายกระป๋อง พบว่ามุมที่ลำกระบอกปืนทำกับแนวระดับเท่ากับ 45 องศา แล้วเหนี่ยวไกปล่อยกระสุนออกไป ถ้าทันทีที่กระสุนหลุดจากปากกระบอกปืน กระป๋องก็หล่นลงสู่พื้นโดยอิสระ จากการทดลองพบว่า กระสุนกระทบเป้าหมายพอดี ถ้าอัตราเร็วเมื่อกระสุนหลุดจากปากกระบอกปืนเท่ากับ 100 เมตรต่อวินาที และกระป๋องอยู่สูงจากพื้น 100 เมตร จงคำนวณหาตำแหน่งที่กระสุนกระทบเป้า ตัวอย่างที่ 3 ยิงวัตถุด้วยความเร็วต้น 20 m/s ทำมุม 450กับแนวระดับ จงหาระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ได้บนแกน x และหากยิงวัตถุด้วยความเร็วและมุมเท่าเดิมขึ้นไปบนพื้นเอียงที่เอียงทำมุม 300กับแนวระดับ จงหาระยะทางที่เคลื่อนที่ได้บนพื้นเอียง

  3. การประยุกต์การเคลื่อนที่แบบวงกลมการประยุกต์การเคลื่อนที่แบบวงกลม 1. การเคลื่อนที่บนถนนโค้ง คำถาม:รถยนต์เคลื่อนที่ไปตามถนนโค้งได้เพราะเหตุใด ตอบ เพราะมีแรงเสียดทานที่กระทำกับด้านข้างของยางรถทำหน้าที่เป็นแรงสู่ศูนย์กลางเพื่อเปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนที่ของรถ

  4. พิจารณาสมการ คำถาม: เพราะเหตุใดรถที่เลี้ยวโค้งบนถนนราบด้วยอัตราเร็วสูงจึงต้องใช้แรงศูนย์กลางมากกว่าการเลี้ยวโค้งด้วยอัตราเร็วต่ำในบริเวณโค้งเดียวกัน และมีโอกาสไถลออกนอกทางได้มากกว่า คำถาม: รถยนต์ที่แล่นบนถนนราบเมื่อเลี้ยวโค้งที่มีรัศมีความโค้งสั้นมาก กับเลี้ยวโค้งที่มีรัศมีความโค้งยาวมากด้วยอัตราเร็วเท่ากัน กรณีไหนมีโอกาสไถลออกนอกทางได้มากกว่ากันเพราะเหตุใด

  5. การเคลื่อนที่ของรถจักรยานยนต์บนทางโค้งราบการเคลื่อนที่ของรถจักรยานยนต์บนทางโค้งราบ Rcos Rsin รูปที่ 1 แล่นทางตรงราบ รูปที่ 2 แล่นทางโค้งราบ

  6. การเคลื่อนที่ของรถบนทางโค้งเอียงการเคลื่อนที่ของรถบนทางโค้งเอียง Ncos Ncos Nsin Nsin cos ƒsin รูปที่ 3 แล่นบนพื้นเอียงที่ไม่มีแรงเสียดทาน รูปที่ 4 แล่นบนพื้นเอียงที่มีแรงเสียดทาน

  7. 2. การเคลื่อนที่แบบวงกลมในแนวดิ่ง รูปที่5 แสดงการเคลื่อนที่ของลูกกลมบนทางโค้งกลมตามแนวดิ่ง

  8. 3. การเคลื่อนที่ของดาวเทียม แรงดึงดูดระหว่างมวล ทำหน้าที่เป็นแรงสู่ศูนย์กลาง รูปที่6 แสดงการเคลื่อนที่ของดาวเทียมมวล m รอบโลกมวล M

  9. ตัวอย่างปัญหาการเคลื่อนที่แบบวงกลมตัวอย่างปัญหาการเคลื่อนที่แบบวงกลม ตัวอย่างที่ 1 ผูกลูกตุ้มไว้กับปลายเชือกยาว 1 เมตร แขวนไว้ตามแนวดิ่งแล้วแกว่งให้เคลื่อนที่เป็นวงกลมตามแนวระดับโดยปลายเชือกด้านบนหยุดนิ่ง ถ้าแนวของเส้นเชือกทำมุม 30 องศากับแนวดิ่ง จงหาเวลาที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ครบ 1 รอบพอดี ตัวอย่างที่ 2 จงคำนวณหาอัตราเร็วของดาวเทียมที่โคจรรอบโลก สมมติว่าดาวเทียมโคจรที่ระยะสูง 200 กิโลเมตรเหนือผิวโลก ซึ่ง ณ ที่นั้นค่า g = 9.0 เมตรต่อวินาที2 กำหนดให้รัศมีของโลก 6,400 กิโลเมตร

  10. ก ข M m v ก Side view Top view ตัวอย่างที่ 3 มวล m ผูกติดกับเชือกเบาซึ่งมีสปริงค่าคงที่ความยืดหยุ่น k ติดอยู่ตรงกลางโดยมวล m ถูกทำให้หมุนรอบรูตรงกลางโต๊ะเอียงลื่นด้วยความเร็ว v คงที่ ถ้าให้มวล M ที่แขวนอยู่กับเชือกหยุดนิ่งวงโคจรของ m จะเป็นวงกลมหรือไม่ เพราะเหตุใด จงแสดงให้เห็น

  11. ตัวอย่างที่ 4 แผ่นโลหะกลมรัศมี 0.1 เมตร หมุนได้คล่องรอบแกน และมีเชือกเบาพันรอบขอบโลหะโดยปลายเชือกข้างหนึ่งผูกมวล m กิโลกรัม ดังรูป ขณะหนึ่งวัตถุเคลื่อนที่ลงด้วยความเร็ว 0.1 เมตรต่อวินาที อีก 4 วินาทีต่อมา ปรากฏว่าวัตถุ m เคลื่อนที่ได้ 1.2 เมตร ถ้าความเร่งของ m คงที่ จงหาขนาดความเร่งสู่ศูนย์กลาง และขนาดความเร่งตามแนวเส้นสัมผัสของจุดบนขอบโลหะขณะใด ๆ m

More Related