800 likes | 1.02k Views
การวิจัยเพื่อพัฒนาชุมชนท้องถิ่นบน ฐานนิเวศวัฒนธรรม. ดร.บัญชร แก้วส่อง . ภารกิจสถาบันอุดมศึกษา. บทบาทสถาบันอุดมศึกษาในระยะที่ผ่านมา. ความรู้ นำเข้า. ผู้สอน. ? ความรู้ที่ได้ จากการวิจัย. วิจัย. บริการสังคม. ทะนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม. ชุมชนท้องถิ่น. เรารู้จักตนเองมากน้อยเพียงใด.
E N D
การวิจัยเพื่อพัฒนาชุมชนท้องถิ่นบนฐานนิเวศวัฒนธรรมการวิจัยเพื่อพัฒนาชุมชนท้องถิ่นบนฐานนิเวศวัฒนธรรม ดร.บัญชร แก้วส่อง
ภารกิจสถาบันอุดมศึกษาภารกิจสถาบันอุดมศึกษา
บทบาทสถาบันอุดมศึกษาในระยะที่ผ่านมาบทบาทสถาบันอุดมศึกษาในระยะที่ผ่านมา ความรู้ นำเข้า ผู้สอน ?ความรู้ที่ได้ จากการวิจัย วิจัย บริการสังคม ทะนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ชุมชนท้องถิ่น
เรารู้จักตนเองมากน้อยเพียงใดเรารู้จักตนเองมากน้อยเพียงใด
การพัฒนาทางเลือก(Alternative development)
สถานการณ์โลกปัจจุบันและแนวโน้มในอนาคตสถานการณ์โลกปัจจุบันและแนวโน้มในอนาคต วิกฤติของการพัฒนากระแสหลัก
คำถามบางประการในการพัฒนาท้องถิ่นคำถามบางประการในการพัฒนาท้องถิ่น • จะพัฒนาอาชีพชุมชนท้องถิ่นให้มีทั้งรายได้/ความสุขได้อย่างไร • จะฟื้นฟูและสร้างเสริมสุขภาพของชุมชนได้อย่างไร • จะฟื้นฟูป่าเพื่อสร้างเป็นแหล่งอาหารได้อย่างไร • จะพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียงในท้องถิ่นได้อย่างไร • จะพัฒนาระบบสวัสดิการที่เหมาะสมกับท้องถิ่นได้อย่างไร • เรามีวัฒนธรรมประเพณีที่ดีงามอะไรบ้าง จะฟื้นฟูสร้างสรรค์ได้อย่างไร • ทำอย่างไรเยาวชนในพื้นที่จึงจะไม่ก่อปัญหาการทะเลาะวิวาทกัน • เราจะสร้างชุมชนที่เกื้อกูลแบ่งปันกันได้อย่างไร • ฯลฯ
สองระบบความคิดของการพัฒนาสองระบบความคิดของการพัฒนา การพัฒนากระแสทุน Gross Domestic Product-GDP (ผลผลิตมวลรวมประชาชาติ) • ทุนที่เป็นตัวเงิน • การแข่งขันอย่างเสรี • การค้าอย่างเสรี • ทำให้เกิดการบริโภค • ลัทธิวัตถุนิยม • ความไม่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม • การพัฒนาแบบไม่สมดุล การพัฒนากระแสทางเลือก Gross Domestic Happiness-GDH (ความสุขมวลรวมประชาชาติ) • ทุนมนุษย์และสังคม • การอยู่ร่วมกัน • การแลกเปลี่ยนแบบเลือกเฟ้น • ความพอเพียง การออม • การพัฒนาทางวัฒนธรรม จิตวิญาณ • การเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม • การพัฒนาแบบมีสมดุล
วิถีโลกาภิวัฒน์ (Globalization) มาตรฐานเดียวกันทั่วโลก มุ่งการใช้ประโยชน์สูงสุดจากทรัพยากร วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเป็นเครื่องมือสำคัญ การผลิตแบบMass สู่การทำกำไรสูงสุด ระบบความสัมพันธ์แห่งการแข่งขัน เป้าหมายคือความเป็นหนึ่งเหนือบุคคลอื่น วิถีท้องถิ่น (Localization) มาตรฐานที่หลากหลายของท้องถิ่น มุ่งการอยู่ร่วมกับทรัพยากรอย่างยั่งยืน ความเชื่อและเทคโนโลยีพื้นบ้านเป็นเครื่องมือสำคัญ การผลิตแบบพอเพียง สู่การเกื้อกูลแบ่งปัน ระบบความสัมพันธ์แห่งการร่วมมือ เป้าหมายคือการอยู่ร่วมกันของสังคม สองขั้วของวิถีการพัฒนา
การวิเคราะห์พลังท้องถิ่นตามแนวนิเวศน์วัฒนธรรมการวิเคราะห์พลังท้องถิ่นตามแนวนิเวศน์วัฒนธรรม
ชุมชนท้องถิ่นแบบองค์รวมชุมชนท้องถิ่นแบบองค์รวม คน/ชุมชน/ท้องถิ่น
ความเชื่อที่สัมพันธ์กับระบบนิเวศน์ความเชื่อที่สัมพันธ์กับระบบนิเวศน์ เขตอภัยทาน ผีนา ผีปู่ตา/ดอนปู่ตา เจ้าป่า เจ้าดง/ภู ผีประจำแหล่งน้ำ ผีบ้านผีเฮือน ผีประจำต้นไม้ ระบบนิเวศน์และวิถีชีวิตภาคอีสาน ระบบความสัมพันธ์ทางสังคม หาปลานำกัน ลงแขกทำนา การเลี้ยงสัตว์ร่วมกัน ทำไร่ร่วมกัน ปลาแดกแลกข้าว/ ข้าวแลกปลา/ของป่า ของป่าแลกข้าว/ ขายปลาซื้อข้าว ขายข้าวซื้อข้าวซื้อปลา ขายของป่า ซื้อข้าว ซื้ออาหาร • วิถีชีวิตคนทาม • หาปลา • ของป่า • นาทาม • เลี้ยงสัตว์ • วิถีชีวิตคนทุ่ง • ทำนา • เลี้ยงสัตว์ • วิถีชีวิตคนโคก • ทำนาดอน/ไร่ • ของป่า • เลี้ยงสัตว์ • วิถีชีวิตคนดง/ภู • ของป่า • เลี้ยงสัตว์ • ทำไร่ • นิเวศน์ภู • ที่สูงลาดชัน • ป่าดง/ภู • นิเวศน์โคก • ที่ดอน • ป่าโคก • นิเวศน์ทุ่ง • ที่ราบ • นา • นิเวศน์ทาม • ที่ลุ่มลำน้ำ • ป่าทาม
บริบททางสังคม • การขยายตัวของเมือง • การอพยพเข้าเมือง • วัฒนธรรมการบริโภค • ของสังคมเมือง • บริบททางเศรษฐกิจ • การขยายตัวของพืชพาณิชย์ • การพัฒนาอุตสาหกรรม • โลกาภิวัตน์/บรรษัทข้ามชาติ องค์ประกอบของชุมชนท้องถิ่น ช่วงเวลาการเปลี่ยนแปลงและผลกระทบ T1……T2……T3……Tn ระบบคุณค่า เมือง • ความเชื่อพุทธ/ผี • ลัทธิบริโภคนิยม ชุมชนอื่น คน กลุ่มคน และชุมชน • นิเวศน์น้ำ ทาม ทุ่ง โคก ภู • ความหลากหลายทางชีวภาพ • ระบบการผลิต • ภูมิปัญญาการผลิต ระบบสังคม ระบบนิเวศน์ • ความสัมพันธ์เชิงวัฒนธรรม • ความสัมพันธ์เชิงเศรษฐกิจ • ความสัมพันธ์เชิงการเมือง โลกาภิวัฒน์ • บริบททางการเมือง • นโยบายการพัฒนา เช่น • เขื่อน เมกะโปรเจกต์ • การเมืองระหว่างประเทศ • บริบททางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี • เทคโนโลยีการสื่อสาร Mobile • เทคโนโลยีชีวภาพ GMO • นาโนเทคโนโลยี
ผู้ไท กลุ่มชาติพันธุ์ในภาคอีสาน ย้อ ฯลฯ ไทคอนสาร กะเลิง เยอร์ บรูว์ โซ่ หญะกุร
พหุลักษณ์ของชุมชนท้องถิ่นอีสานพหุลักษณ์ของชุมชนท้องถิ่นอีสาน • ระบบความสัมพันธ์หลากหลาย • ความสัมพันธ์เชิงเครือญาติ • ความสัมพันธ์เชิงอุปถัมภ์ทางเศรษฐกิจ • ความสัมพันธ์เชิงอุปถัมภ์ทางการเมือง • ความสัมพันธ์เกื้อกูลของเมือง-ชนบท • เทคโนโลยีที่หลากหลาย • ภูมิปัญญาท้องถิ่น • รับเทคโนโลยีใหม่ • การผสมผสานเทคโนโลยี ชุมชนท้องถิ่น • ความหลากหลายอาชีพ • หาปลา/หาของป่า • ทำนา/เลี้ยงสัตว์/กสิกรรม • รับจ้างชั่วคราวของภาคเกษตรในพื้นที่ • รับจ้างอุตสาหกรรมแบบชั่วคราวและถาวร • ค้าขายรถเร่/ตลาดนัด • ความหลากหลายทางวัฒนธรรม • ลงแขก-จ้าง • การฟื้นฟูวัฒนธรรมและการขาย • การคืนสู่ถิ่นของแรงงานในเมือง • วัฒนธรรมต่างชาติในท้องถิ่น • การผสมผสานของหลายเชื้อชาติ
องค์ความรู้: รูปแบบการพัฒนา • ระบบการจัดการทรัพยากรโดยองค์กรชุมชน/ศักยภาพการท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์วัฒนธรรม • ระบบสวัสดิการ/วิสาหกิจ/การแลกเปลี่ยนชุมชนท้องถิ่น • การพัฒนาระบบเกษตรกรรมยั่งยืน • การพัฒนาคุณธรรม • การจัดการความขัดแย้งในท้องถิ่น/การเสริมสร้างศักยภาพองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น • การจัดการศึกษาโดยภูมิปัญญาท้องถิ่น/การพัฒนาหลักสูตร/การปฏิรูปการศึกษาชุมชนท้องถิ่น • การแพทย์พื้นบ้าน/การฟื้นฟูสมุนไพร/การพัฒนาระบบสุขภาพท้องถิ่น
การวิจัยเพื่อท้องถิ่น(Community Based Research-CBR)
ทำไมต้องวิจัยท้องถิ่นทำไมต้องวิจัยท้องถิ่น • เพื่อให้รู้จักตนเองและชุมชนท้องถิ่นของตนเอง • การทำความเข้าใจรากเหง้าของชุมชนท้องถิ่น • เพื่อให้ได้ทางเลือกการพัฒนาที่เหมาะสมกับนิเวศน์วัฒนธรรมท้องถิ่น • สร้างสำนึกรักท้องถิ่น • สร้างพลังอำนาจให้ชุมชนท้องถิ่น • การปลดปล่อยทางปัญญาของชุมชนท้องถิ่น
เป้าหมายการวิจัยท้องถิ่นโดยรวม-สร้างองค์ 3 เกิดจิตสำนึกท้องถิ่น การสร้างนักวิจัยชุมชน/ ผู้ตื่น ผู้รู้ ผู้เบิกบาน การพัฒนาท้องถิ่น แบบองค์รวม การสร้างความเข้มแข็งกลุ่ม องค์กรและเครือข่าย การสร้างองค์ความรู้ ท้องถิ่น/ องค์ความรู้การพัฒนา ความเข้มแข็งขององค์กร และเครือข่าย เกิดภูมิปัญญาท้องถิ่น และกระบวนการเรียนรู้
“การซอกหา” ความรู้ใหม่ • “สะราวจรีว” (สาวลงลึก) • Re-search ค้นหา ค้นแล้วค้นเล่า • การค้นหาความรู้ใหม่โดยใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ หรือวิธีการอื่นใดที่เชื่อถือได้ • การทำความเข้าใจปรากฏการณ์ทางธรรมชาติและสังคม
ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ แผ่นดินไหวที่จีน พายุถล่มที่พม่า ไต้หวัน ปรากฏการณ์สึมามิ ไฟไหม้ป่าแคลิฟอร์เนีย มดอพยพ ปรากฏการณ์ทางสังคม คนชนบทอพยพเข้าเมือง เด็กผู้หญิงตามล่าเด็กชาย ค่านิยมการแต่งงานกับฝรั่ง เด็กติดยาเสพย์ติด/ทะเลาะวิวาท ชุมชน/สังคมแตกแยก การทำความเข้าใจปรากฏการณ์
การทำความเข้าใจปรากฏการณ์ทางสังคมการทำความเข้าใจปรากฏการณ์ทางสังคม • การทำความเข้าใจปรากฏการณ์หนี้สินของชาวนา • การค้นหาวิธีการฟื้นฟูและพัฒนาระบบเกษตรกรรมยั่งยืน • การทำความเข้าใจระบบเศรษฐกิจพอเพียงของชุมชน • การค้นหาวิธีการฟื้นฟูป่าเพื่อเป็นแหล่งอาหารของชุมชน • การฟื้นฟูและพัฒนาเขตอภัยทานในลำน้ำ • การแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในชุมชน
วิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมParticipatory Action Research: PAR Research การวิจัย: ได้ความรู้ใหม่จาก การปฏิบัติการร่วมกัน Action การปฏิบัติการ: ได้วิธีการและกระบวน การพัฒนา Participatory การมีส่วนร่วม: ได้พลังของการพัฒนา ของชุมชนท้องถิ่น แบบแผนโดยทั่วไปของการวิจัยเพื่อท้องถิ่น
ใครต้อง/ควรมีส่วนร่วมใครต้อง/ควรมีส่วนร่วม ผู้นำ/กลุ่มและคนในพื้นที่ -เจ้าของพื้นที่และวิถีชีวิต -สร้างและรับผลพลังการเปลี่ยนแปลง นักวิชาการ -ศักยภาพการคิดวิเคราะห์ -สร้างพลังการวิจัย นักพัฒนาเอกชน/รัฐ -ศักยภาพเชิงกระบวนการพัฒนา -สร้างพลังการพัฒนา
กระบวนการวิจัยเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นกระบวนการวิจัยเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น การปฏิบัติการ พัฒนา การพัฒนาประเด็น และคำถามการวิจัย การออกแบบ การวิจัยเบื้องต้น การเก็บรวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูล การออกแบบ การพัฒนา การประเมินและ สรุปผลการพัฒนา การจัดและพัฒนา ทีมวิจัย
ควรจะมีส่วนร่วมในขั้นตอนใดของการวิจัย ร่วมระดับใด การปฏิบัติการ 1…2…3…n การเก็บ รวบรวมข้อมูล การพัฒนาประเด็น และคำถามการวิจัย ออกแบบ ปฏิบัติการ 1…2… การทบทวนสรุป 1…2…3…n การออกแบบ การวิจัยเบื้องต้น การประเมิน และสรุปผล การวิเคราะห์ ข้อมูล การจัดและพัฒนา ทีมวิจัย การเขียนรายงาน การวิจัย
กระบวนการสำคัญ: อริยสัจจ์ 4 ประการ ความรู้ใหม่ได้จากการสรุปบทเรียน และวิเคราะห์ผลการปฏิบัติการ ความรู้ใหม่ได้จากการเก็บรวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูล
ใครควรเข้ามามีส่วนร่วมใครควรเข้ามามีส่วนร่วม
กลุ่มคนในชุมชนที่สำคัญกลุ่มคนในชุมชนที่สำคัญ
ลักษณะการมีส่วนร่วม-จะร่วมแบบไหนลักษณะการมีส่วนร่วม-จะร่วมแบบไหน • การมีส่วนร่วมแบบ • Direct Participation-การมีส่วนร่วมโดยตรง • Indirect Participation-การมีส่วนร่วมโดยอ้อม • การมีส่วนร่วมแบบ • Active Participation-การมีส่วนร่วมแบบแข็งขัน • Passive Participation-การมีส่วนร่วมแบบเฉื่อยชา
รูปแบบและคุณลักษณะการวิจัยเพื่อท้องถิ่นรูปแบบและคุณลักษณะการวิจัยเพื่อท้องถิ่น ประเด็นปัญหาสอด คล้องกับสถานการณ์ท้องถิ่น ฐานคิดการวิจัยตั้งอยู่บนฐาน ปรากฏการณ์และประสบการณ์ การใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพแบบคนใน ทำความเข้าใจสภาพท้องถิ่น ใช้ประวัติศาสตร์บอกเล่าของท้องถิ่น และรื้อฟื้นภูมิปัญญาท้องถิ่น วิธีการร่วมมือร่วมใจและ การมีส่วนร่วมของท้องถิ่น การผลิตซ้ำของชุดปฏิบัติการ และสรุปบทเรียน
การค้นหาศักยภาพทางสังคม: การทำแผนที่ทางสังคมSocial Mapping
การสร้างความคุ้นเคย (Rapport)ลึ้ง • ใช้ความมักคุ้นส่วนตัว • สร้างผ่านคนรู้จักกัน • ใช้ความสังเกตสิ่งที่น่าสนใจ หยิบขึ้นมาเป็นประเด็นสนทนานำ • ให้เวลาเป็นของชาวบ้านให้มากที่สุด • กรณีสมุนไพรดอนจาน หมากมีพลูไปฝากด้วย หรือนั่งเคี้ยวหมากด้วยกัน • กรณีควายทาม ไปนั่งกินข้าวกลางวันด้วยกันตอนเลี้ยงควาย
โสเหล่ (Focus group) โฮมกัน(Group Interview) เว่าสู่ฟัง(Oral History) ส่อ(Indept-interview) ซอมเบิ่ง(Participant observation) จอบเบิ่ง(Observation) -ใช้แบบสอบถาม -สำรวจ เดินดู ร่วมกันกับผู้รู้ วิธีการเก็บข้อมูล จัดทำแผนที่กายภาพ บันทึก
การตรวจสอบข้อมูล/การวิเคราะห์ข้อมูลการตรวจสอบข้อมูล/การวิเคราะห์ข้อมูล • การตรวจสอบข้ามพื้นที่ • การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นโดยทีมวิจัย • การจัดเวทีนำเสนอและแลกเปลี่ยนข้อมูล
แผนที่เดินดิน • การเดินลงไปในชุมชนศึกษากายภาพ สังเกตที่อยู่อาศัย/สภาพบ้านเรือน สอบถามข้อมูลทั่วไปของชุมชนจากชาวบ้านอย่างไม่เป็นทางการ • คือการทำแผนที่ชุมชนและทรัพยากรที่มีอยู่ในชุมชน ดร. จตุรงค์ บุณยรัตนสุนทร
การเดินสำรวจเพื่อทำแผนที่เดินดินแบบมีส่วนร่วมการเดินสำรวจเพื่อทำแผนที่เดินดินแบบมีส่วนร่วม
แผนที่กายภาพเน้นสภาพแวดล้อมแผนที่กายภาพเน้นสภาพแวดล้อม
การศึกษาประวัติศาสตร์ชุมชนการศึกษาประวัติศาสตร์ชุมชน การศึกษาถึงเรื่องราวความเป็นมาของชุมชน ในด้านต่างๆ ทั้งทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการเมือง จะช่วยให้เข้าใจถึงที่มาที่ไปของปรากฏการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในชุมชน
การวิเคราะห์ประวัติศาสตร์ผ่านการเปลี่ยนแปลงแต่ละช่วงเวลา การวิเคราะห์ประวัติศาสตร์ผ่านการเปลี่ยนแปลงแต่ละช่วงเวลา