1 / 1

โดย นางสาว เกศกานดา นันติ และ นางสาว รุ่งฟ้าโต๊ะถม

โครงการ พัฒนาผลิตภัณฑ์ คุกกี้กระเพากุ้ง. คุกกี้กระเพากุ้ง. โดย นางสาว เกศกานดา นันติ และ นางสาว รุ่งฟ้าโต๊ะถม. สาขาวิชาพัฒนาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเกษตร. วิธีการ. บทคัดย่อ.

coyne
Download Presentation

โดย นางสาว เกศกานดา นันติ และ นางสาว รุ่งฟ้าโต๊ะถม

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โครงการ พัฒนาผลิตภัณฑ์ คุกกี้กระเพากุ้ง คุกกี้กระเพากุ้ง โดย นางสาว เกศกานดา นันติ และ นางสาว รุ่งฟ้าโต๊ะถม สาขาวิชาพัฒนาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเกษตร วิธีการ บทคัดย่อ การพัฒนาผลิตภัณฑ์คุกกี้ เป็นการนำเอากุ้งและใบกระเพรามาทำการพัฒนา โดยเริ่มจากการทดลองทำผลิตภัณฑ์คุกกี้เนย โดยอ้างอิงมาจากขนมอบ และเมื่อสามารถทำผลิตภัณฑ์คุกกี้ได้แล้ว ก็ทำการพัฒนาผลิตภัณฑ์คุกกี้กระเพรากุ้ง โดยมีกุ้ง และใบกระเพรา เพื่อช่วยให้มีคุณค่าทางโภชนาการ และเป็นประโยชน์ต่อสุขภาพ และเมื่อนำไปทดสอบการยอมรับของผู้บริโภคพบว่า ผู้บริโภคให้การเห็นด้วยต่อการพัฒนาผลิตภัณฑ์คุกกี้กระเพรากุ้งร้อยละ100.00โดยผู้บริโภคต้องการบรรจุภัณฑ์ของผลิตภัณฑ์คุกกี้กระเพรากุ้งเป็นถุงพลาสติก ร้อยละ60.00 และแบบกระป๋อง ร้อยละ 23.33 และผู้บริโภคต้องการซื้อผลิตภัณฑ์คุกกี้กระเพรากุ้ง ในราคาถุงละ 10 บาท ร้อยละ 50.00 และราคาถุงละ15 บาท ร้อยละ 33.33 ร่อนแป้งและผงฟูรวมกัน ตีเนยสดกับน้ำตาลทรายขาว บทนำ เติมไข่ไก่ทีละฟอง ผสมให้เข้ากัน คุกกี้ หมายถึง ผลิตภัณฑ์เบเกอร์ที่มีขนาดเล็ก แบนและมีรสหวาน มีรูปร่าง และกลิ่นรสต่าง ๆ กัน คุกกี้บางชนิดบาง บางชนิดหนา บางชนิดมีอ่อนและแก่ บางชนิดอาจ ตกแต่งด้วยผลไม้และพวกนัท ถั่ว บางชนิดมีการตกแต่งด้วยหน้าฟรอสติง เนื่องจากว่าคุกกี้ ส่วนมากที่ผลิตเป็นสินค้ามีมากมายหลายชนิด ขึ้นอยู่กับผลิตภัณฑ์ออกมาขาย ผลการทดลอง ใส่ใบกระเพาหั่นฝอย 1.โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่ผ่านการคัดเลือกในการสร้างผลิตภัณฑ์ใหม่คือการพัฒนาผลิตภัณฑ์คุกกี้กระเพรากุ้ง พบว่า คุกกี้กระเพรากุ้งเป็นการนำเอากุ้งและใบกระเพรามาเป็นส่วนผสม 2. จากการศึกษากระบวนการพัฒนาสูตรและกรรมวิธีผลิตผลิตภัณฑ์คุกกี้กระเพรากุ้ง พบว่า คุกกี้กระเพรากุ้งมีส่วนประกอบของ แป้งสาลี ร้อยละ 50.51 น้ำตาลทราย ร้อยละ25.05 เนยสด ร้อยละ 6.06 ผงฟู ร้อยละ 1.01 ไข่ไก่ ร้อยละ 10.10 กุ้ง ร้อยละ 6.06 ใบกระเพรา ร้อยละ 1.01 3. จาก การทดสอบผู้บริโภคจำนวน 30 คน พบว่า ผู้บริโภคให้คะแนนความชอบต่อผลิตภัณฑ์คุกกี้กระเพรากุ้ง ด้านลักษณะปรากฏ สี กลิ่น รสชาติ เนื้อสัมผัส และความชอบรวม อยู่ในระดับชอบปานกลาง มีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 7.366.676.336.336.80 และ 7.03 คะแนน ตามลำดับ และผู้บริโภคส่วนมากให้ความเห็นด้วยผลิตภัณฑ์คุกี้กระเพรากุ้ง ร้อยละ 100.00 โดยผู้บริโภคต้องการบรรจุภัณฑ์ใส่ผลิตภัณฑ์คุกกี้กระเพรากุ้ง แบบถุงพลาสติก ร้อยละ60.00 และผู้บริโภคต้องการซื้อคุกกี้กระเพรากุ้ง ในราคา10ต่อถุง ร้อยละ 50.00 กดพิมพ์คุกกี้และวางกุ้งบนหน้าคุกกี้ เข้าเตาอบที่อุณหภูมิ 350˚Fนาน 15 นาที สรุป 1.โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่ผ่านการคัดเลือกในการสร้างผลิตภัณฑ์ใหม่คือการพัฒนาผลิตภัณฑ์คุกกี้กระเพรากุ้ง 2. กระบวนการพัฒนาสูตรและกรรมวิธีผลิตผลิตภัณฑ์คุกกี้กระเพรากุ้ง มีส่วนประกอบของ แป้งสาลี ร้อยละ 50.51 น้ำตาลทราย ร้อยละ25.05 เนยสด ร้อยละ 6.06 ผงฟู ร้อยละ 1.01 ไข่ไก่ ร้อยละ 10.10 กุ้ง ร้อยละ 6.06 ใบกระเพรา ร้อยละ 1.01 3. จาก การทดสอบผู้บริโภคจำนวน 30 คน พบว่า ผู้บริโภคให้คะแนนความชอบต่อผลิตภัณฑ์คุกกี้กระเพรากุ้ง ด้านลักษณะปรากฏ สี กลิ่น รสชาติ เนื้อสัมผัส และความชอบรวม อยู่ในระดับชอบปานกลาง มีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 7.366.676.336.336.80 และ 7.03 คะแนน ตามลำดับ และผู้บริโภคต้องการซื้อคุกกี้กระเพรากุ้ง ในราคา10ต่อถุง ร้อยละ 50.00 คุกกี้กระเพรากุ้ง เอกสารอ้างอิง นิรนาม.2544. หลักการแปรรูปอาหารเบื้องต้น. โอ เอส พริ้นติ้งเฮาส์, กรุงเทพฯ. 148น. ทิพาวรรณเฟื่องเรือง.2550. คุกกี้ .แหล่งข้อมูลhttp://www.tipfood.com/content3/cookies_topic _1.htm ( 2 กันยายน 2550) โสภิดา ลิ้มวัฒนาพันธ์..2550.การพัฒนาผลิตภัณฑ์.แหล่งข้อมูลhttp://www.bpcd .net/new_subject ( 2 กันยายน 2550) วิชาการพัฒนาผลิตภัณฑ์2

More Related