1 / 27

สูตรและสมการเคมี

สูตรและสมการเคมี. สูตรเคมี. สมการเคมี. สูตรเคมี (chemical formula). สูตรเคมี (chemical formula) มี 3 ลักษณะ 1. สูตรโมเลกุล (molecular formula) เป็นสูตรที่แสดงจำนวนอะตอมของธาตุใน 1 โมเลกุล เช่น H 2 O, C 12 H 22 O 11.

corby
Download Presentation

สูตรและสมการเคมี

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สูตรและสมการเคมี สูตรเคมี สมการเคมี

  2. สูตรเคมี (chemical formula) สูตรเคมี (chemical formula) มี 3 ลักษณะ 1. สูตรโมเลกุล (molecular formula) เป็นสูตรที่แสดงจำนวนอะตอมของธาตุใน 1 โมเลกุล เช่น H2O, C12H22O11

  3. 2. สูตรโครงสร้าง (structural formula) เป็นสูตรที่แสดงว่าใน 1 โมเลกุลประกอบด้วยอะตอมใด สร้างพันธะใด เช่น O H H

  4. 3. สูตรเอมพิริคัล (empirical formula) เป็นสูตรที่แสดงอัตราส่วนอย่างต่ำของจำนวนอะตอมใน 1 โมเลกุล เช่น สูตรโมเลกุล C4H8 สูตรเอมพิริคัล คือ CH2

  5. ตัวอย่าง สูตรโมเลกุล สูตรเอมพิริคัล C6H12O6 CH2O CH3COOH CH2O C17H35COOH C9H18O

  6. การหาสูตรเอมพิริคัล • มีขั้นตอนดังนี้ 1. หาอัตราส่วนโมลอะตอม ของธาตุ 2. ค่าตัวเลขที่ได้ควรมีทศนิยม 2 ตำแหน่ง 3. นำค่าตัวเลขที่น้อยที่สุดหารตลอดทุกธาตุ 4. ค่าตัวเลขที่ได้ ถ้ามีจุดทศนิยม 0.2 – 0.8 ห้ามปัด(ทำข้อ5ต่อ) 5. นำเลขจำนวนเต็มคูณตลอดจนปัดจุดทศนิยมได้

  7. ตัวอย่างที่ 1 ออกไซด์ของฟอสฟอรัส ประกอบด้วย P=43% จะมีสูตรอย่างง่ายอย่างไร

  8. เฉลย 1 mol P = 1 mol P x 43 g P 31 g P = 1.39 mol mol O = 1 mol O x 57 g O 16 g O = 3.56 mol อัตราส่วนโมลอะตอม P : O = 1.39 mol : 3.56 mol = 1.39 mol : 3.56 mol 1.39 mol 1.39 mol = 1 : 2.56 = 2 : 5 สูตรเอมพิริคัลของสารประกอบคือ P2O5

  9. การหาสูตรโมเลกุล • (สูตรเอมพิริคัล)n= สูตรโมเลกุล • (สูตรเอมพิริคัล)n = มวลโมเลกุล

  10. ตัวอย่างที่ 2 สารประกอบไฮโดรคาร์บอน ประกอบด้วยธาตุคาร์บอน 82.66% และธาตุไฮโดรเจน 17.34% จงหาสูตรเอมพิริคัล และสูตรโมเลกุล กำหนดมวลโมเลกุลของสารนี้ =58

  11. เฉลย 2 mol H = 1 mol H x 17.34 g H 1 g H = 17.34 mol H mol C = 1 mol C x 82.66 g C 12 g C = 6.89 molC อัตราส่วนโมลอะตอม C : H = 6.89 mol : 17.34 mol = 6.89 mol : 17.34 mol 6.89 mol 6.89 mol = 1 : 2.5 = 2 : 5 สูตรเอมพิริคัลของสารประกอบคือ C2H5

  12. เฉลย 2 (ต่อ) สูตรโมเลกุล = (สูตรเอมพิริคัล)n = (C2H5)n มวลโมเลกุล = (มวลสูตรเอมพิริคัล)n = [(2x12) + (5x1)]n n = มวลโมเลกุล มวลจากสูตรเอมพิริคัล = 58 29 = 2 สูตรโมเลกุล = (C2H5)2 = C4H10

  13. สมการเคมี การคำนวณปริมาณสารจากสมการเคมี สมการเคมี 2 Al(s) + 6 HCl(aq) 2 AlCl3(aq) + 3 H2(g) โมล 2 6 2 3 มวล(g)2x27 6x36.5 2x133.5 3x2 ปริมาตร (dm3) - - - 3 x 22.4

  14. โจทย์แบบฝึกหัดการคิดคำนวณโจทย์แบบฝึกหัดการคิดคำนวณ ตัวอย่าง 1. จากสมการ Zn(s) + H2SO4(aq) ZnSO4(aq) + H2(g) จะต้องใช้ สังกะสีประมาณกี่กรัม ในการเตรียมก๊าซไฮโดรเจน 6.9 dm3ที่ STP

  15. เฉลย Zn(s) + H2SO4(aq) ZnSO4(aq) + H2(g) จำนวนโมล 1 1 1 1 1x65g 1x22.4 dm3 g Zn = 65 g Znx6.9 dm3 H2ที่ STP 22.4dm3 H2ที่ STP = 20 g Zn ใช้สังกะสี 20 กรัม

  16. ตัวอย่าง 2. ที่ STP ถ้าเผา CH42.8 dm3 จะต้องใช้ออกซิเจนกี่โมล

  17. เฉลย CH4(g) + 2O2 (g) CO2 (g) + 2H2O (g) จำนวนโมล 1 2 1 2 1x22.4 2x22.4 1x22.4 2x22.4 mol O2 = 2 mol O2x2.8 dm3 CH4ที่ STP 22.4dm3 CH4ที่ STP = 0.25 mol O2 ใช้ออกซิเจน 0.25 โมล

  18. ตัวอย่าง 3. เมื่อนำ C3H8 มา 3 กรัม เผาไหม้จนสมบูรณ์ จะได้ก๊าซ CO2 กี่ cm3 ที่ STP

  19. เฉลย C3H8(g) + 5O2 (g) 3CO2 (g) + 4H2O (g) จำนวนโมล 1 5 3 4 1x44 g 3x22400 cm3 cm3 CO2ที่ STP = 3x22400 cm3 CO2ที่ STP x3 g C3H8 44 g C3H8 = 4581.82 cm3 ใช้คาร์บอนไดออกไซด์ 4581.82 cm3

  20. สมการกำหนดปริมาณ หมายถึง สารตั้งต้นที่ถูกใช้หมดในปฏิกิริยาเคมี ข้อสังเกต ถ้าโจทย์ให้ปริมาณของสารตั้งต้นมาหลายตัว ให้หาว่า สารตั้งต้นใดเป็นสารกำหนดปริมาณโดยหาจำนวนโมลของสาร ถ้าสารใดมีจำนวนมวลของสารน้อยที่สุด สารนั้นจะเป็นสารกำหนดปริมาณ

  21. ตัวอย่าง 4. ในการเผาไหม้ 2C2H6+ 7O2 4CO2 + 6H2O ถ้านำก๊าซอีเทนและก๊าซออกซิเจนมาอย่างละ 10 กรัม จะเกิดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์กี่กรัม

  22. เฉลย หาโมลของสารตั้งต้น ; โมลของ C2H6 โมลของ O2 10 10 30 32 0.33 mol 0.31 mol ดังนั้น ออกซิเจน จึงเป็นสารกำหนดปริมาณ

  23. เฉลย (ต่อ) 2C2H6 + 7O2 4CO2 + 6H2O 7x32 g 4x44 g g CO2 =4x44 g CO2 x 10 g O2 7x32 g O2 = 7.9 g ดังนั้นจะเกิดคาร์บอนไดออกไซด์ 7.9 กรัม

  24. ผลได้ร้อยละ = ผลได้จริง x 100ผลได้ตามทฤษฎี

  25. ตัวอย่าง 5. น้ำมันระกำ ( methyl salicylate ) เตรียมได้จากปฏิกิริยาต่อไปนี้ C7H6 O3 + CH3OH C8H5 O3 + H2O กรดซาลิซิลิก เมทานอล น้ำมันระกำ จากการทดลองพบว่า กรดซาลิซิลิก 1.5 g ทำปฏิกิริยากับเมทานอล 11.2 g จะได้น้ำมันระกำ 1.24 g จงหา ผลได้ร้อยละจากการทดลองนี้

  26. เฉลย หาโมลของสารตั้งต้น ; โมลกรดซาลิซิลิก โมลเมทานอล 1.5 11.2 138 32 = 0.01= 0.35 ดังนั้นกรดซาลิซิลิก จึงเป็นสารกำหนดปริมาณ

  27. กลับหน้าหลัก เฉลย (ต่อ )C7H6O3 + CH3OH C8H5 O3 + H2O g C8H5 O3 = 149 g C8H5 O3 x 1.5 g C7H6O3 138 g C7H6O3 = 1.62 g ผลได้ร้อยละ = ผลได้จริง x 100ผลได้ตามทฤษฎี = 1.24 x 100 1.62 ผลได้ร้อยละ = 76.54 149 g 138 g

More Related