290 likes | 610 Views
วันที่ 24 สิงหาคม 2554 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ. การสอน สุขศึกษาเรื่อง “การได้ยิน”. รศ. สราวุธ สุธรรมมาลา อาจารย์ประจำสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยสุโขทัย ธรรมธิ ราช. กายภาพของหูและกลไกการได้ยินของมนุษย์. หูชั้นใน. หูชั้นนอก. หูชั้นกลาง. เนื้อสมอง. ชั้นกระดูก. เส้นประสาทรับเสียง.
E N D
วันที่ 24 สิงหาคม 2554 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ การสอน สุขศึกษาเรื่อง “การได้ยิน”
รศ.สราวุธ สุธรรมมาลาอาจารย์ประจำสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช
กายภาพของหูและกลไกการได้ยินของมนุษย์กายภาพของหูและกลไกการได้ยินของมนุษย์ หูชั้นใน หูชั้นนอก หูชั้นกลาง เนื้อสมอง ชั้นกระดูก เส้นประสาทรับเสียง เยื่อแก้วหู รูหู ใบหู
เส้น/ขน รับเสียงในกระดูกรูปหอยโหง เยื่อแก้วหู
ขนรับเสียงในกระดูกรูปหอยขนรับเสียงในกระดูกรูปหอย
ขั้นตอนการสูญเสียการได้ยินขั้นตอนการสูญเสียการได้ยิน • แบ่งได้เป็น 3 ขั้นตอน • ขั้นตอนที่ 1. เมื่อได้ยินเสียงดังมากๆ จะได้ยินเสียงก้องในหู เราจะรู้สึกเหนื่อยอ่อนและอ่อนเพลีย
ขั้นตอนที่ 2 คือขั้นตอนการเตือนก่อนสูญเสียการได้ยิน 2.1อาการสูญเสียการได้ยินแบบชั่วคราว อะไรนะ พูดใหม่ซิ เมื่อเพื่อนเรียกเราไม่ค่อยได้ยินเสียง ต้องถามซ้ำว่า “พูดว่าอะไรนะขออีกที” เป็นสาเหตุมาจากเมื่อเราได้ยินเสียงดังมากๆ เซลล์ขนที่รับเสียงในกระดูกหอยในหูเกิดการสูญเสียการได้ยินไม่สามารถรับเสียงได้ หลังจากที่ได้รับการพักผ่อน เซลล์ขนฟื้นเป็นปกติก็จะรับเสียงได้ดังเดิม
ขั้นตอนที่ 3 คือขั้นตอนสูญเสียการได้ยินแบบถาวร ทำไมเปิดวิทยุเสียงดังจัง 2.2การสูญเสียการได้ยินแบบถาวร การเปิดวิทยุ หรือทีวี เสียงดัง ในระยะหลัง มักมีคนทักว่าทำไมต้องเปิดวิทยุเสียงดัง เป็นสาเหตุมาจากเมื่อเราได้ยินเสียงดังมากๆ เป็นเวลานานๆ ไม่ได้รับการรักษาหรือป้องกันจากเสียงดัง จะทำให้เซลล์ขนที่รับเสียงเกิดตายได้ และทำให้สูญเสียการได้ยินแบบถาวร
การตรวจการได้ยิน ความถี่สูง ความถี่ต่ำ ช่วงการสนทนา ความถี่ปานกลาง 3001-8000 Hz 2001-3000 Hz 500-2000 Hz
การปฏิบัติตัวก่อนไปรับการตรวจการได้ยินการปฏิบัติตัวก่อนไปรับการตรวจการได้ยิน • 1.ก่อนตรวจการได้ยิน 1 วัน ต้องพักการได้ยิน โดยไม่ไปรับเสียงดังๆๆ ตามห้องอาหารหรือที่ที่มีเสียงดัง เพื่อให้ขนรับเสียงในหู ได้พักผ่อน • 2.วันที่ไปรับการตรวจการได้ยิน หากต้องใส่ที่ครอบหูและใบหูให้แนบสนิท ไม่ให้เสียงดังจากภายนอก เข้าไปได้ เพื่อป้องกันเซลล์ขนของเราที่จะต้องรับเอาพลังงานเสียง แล้วส่งต่อไปที่เซลล์ประสาท จะไม่เกิดการสูญเสียการได้ยินแบบชั่วคราวขึ้นมา • 3.ต้องไปที่ห้องตรวจการได้ยินก่อน 5-10 นาที เพราะเมื่อเราเดินมาตรวจ ถ้าเรารีบร้อนเกินไป เราจะเหนื่อย อวัยวะต่างของเราก็จะตามอาการเหนื่อยหอบ ทำให้เวลาเราได้ยินจากการตรวจปล่อยเสียงออกมา เสียงต่างๆของอาการเหนื่อยหอบจะไปกลบเสียงที่มาจากการตรวจการได้ยิน ทำให้ผลการตรวจผิดพลาด • 4.ปฏิบัติตามที่ผู้ตรวจการได้ยินบอก เช่นนั่งให้สบาย และครอบเครื่องตรวจการได้ยิน และตั้งใจฟังเสียงที่ปล่อยออกมา
การนำเสนอตัวอย่างสิ่งแปลกปลอมเข้าหูที่อันตรายการนำเสนอตัวอย่างสิ่งแปลกปลอมเข้าหูที่อันตราย ข่าวสยองเห็บเข้าหูคน เปิดเผยขึ้นเมื่อวันที่ 29 ก.ย. นางอัสมา อาลี อายุ 34 ปีชาวบังกลาเทศ อาศัยอยู่ในห้องเช่าเลขที่ 149 ซอยเทพลีลา 2 ถนนรามคำแหง แขวงและเขตวังทองหลาง ว่ามีอาการปวดหูมาก และมีหนองไหลออกมาจากในหู เนื่องจากมีเห็บสุนัขเข้าไปในรูหู จึงไปตรวจสอบพบ นางอัสมา นอนร้องครวญครางอยู่ด้วยความเจ็บปวด เมื่อ 6 เดือนก่อนมีอาการปวดหู จึงไปหาหมอที่ รพ.นพรัตน์ แพทย์ตรวจดูแล้วไม่พบสิ่งผิดปกติจึงให้ยากลับมากิน ต่อมาอีก 3 เดือนก็ปวดหูอย่างรุนแรงอีก จึงไปหาหมอที่ รพ.พระมงกุฎเกล้า แพทย์พบว่าในรูหูข้างซ้ายมีเห็บสุนัขตัวเขื่องเกาะอยู่ จึงล้างหูและใช้คีมคีบเห็บออกมาและให้ยามากิน ต่อมาเมื่อวันที่ 16 ก.ย. ที่ผ่านมา ก็เกิดปวดหูอย่างรุนแรงอีก
จึงไป รพ.นพรัตน์ แพทย์พบว่ามีสิ่งผิดปกติในหูต้องได้รับการผ่าตัด แต่ต้องเสียค่าใช้จ่ายประมาณ 1 หมื่นบาท และนางอัสมา กล่าวว่าต่อมาเมื่อสองวันก่อน เกิดปวดมากลูกสาวจึงใช้แชมพูผสมน้ำแล้วหยอดเข้าไปในหู พบว่ามีลูกเห็บสุนัขนับร้อยตัว ไต่ออกมาจากรูหูทั้งสองข้างเกาะเต็มใบหน้า หลังจากนั้นก็ไปหาหมอที่ รพ.ราชวิถีอีกครั้ง แต่แพทย์ไม่พบอะไรในหูจึงกลับมา และในวันนี้ก็เกิดปวดหูอีกครั้ง จึงคิดว่าน่าจะเป็นเห็บสุนัขอยู่ในหูแน่นอน จึงขอความช่วยเหลือจากมูลนิธิร่วมกตัญญูดังกล่าว ส่วนเห็บสุนัขคาดว่าจะมาจากสุนัขจรจัด ที่ชอบมานอนกันเต็มหน้าบ้าน แม้จะพยายามใช้น้ำร้อนราด แต่ก็ยังมีให้เห็นอยู่จำนวนมาก ซึ่งคงจะเข้ามาในที่นอนและเข้าหูตนในขณะหลับก็เป็นได้
เล่าเรื่องราวโดยนพ.ฉัตรไชย คูณรังสีสมบูรณ์หัวหน้าแผนก หู คอ จมูก รพ.นครพิงค์ จ.เชียงใหม่
ภาพเห็บในหูคนที่แพทย์ทำการใช้คีมดึงออกมาภาพเห็บในหูคนที่แพทย์ทำการใช้คีมดึงออกมา
ขอบคุณที่ได้ติดตามชมจาก....... กรมสนับสนุนบริการสุขภาพณัฐณิชา กลัมพสุต