1 / 11

ฐานิตา ทองศิ ริครู หมวดบัญชี

รายงานวิจัยในชั้นเรียน. การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา บัญชีเบื้องต้น 1 เรื่อง การบันทึกรายการค้าในบัญชีแยกประเภททั่วไป โดยใช้ชุดฝึกทักษะ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชย การ ปีการศึกษา 2555. ฐานิตา ทองศิ ริครู หมวดบัญชี.

conan-dyer
Download Presentation

ฐานิตา ทองศิ ริครู หมวดบัญชี

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. รายงานวิจัยในชั้นเรียนรายงานวิจัยในชั้นเรียน • การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา บัญชีเบื้องต้น 1 เรื่อง การบันทึกรายการค้าในบัญชีแยกประเภททั่วไปโดยใช้ชุดฝึกทักษะ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ ปีการศึกษา 2555 ฐานิตา ทองศิริครู หมวดบัญชี วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ กรุงเทพมหานคร

  2. ที่มาและความสำคัญของปัญหาที่มาและความสำคัญของปัญหา

  3. 1. เพื่อพัฒนาชุดฝึกทักษะ เรื่อง การบันทึกรายการค้าในบัญชีแยกประเภททั่วไป สำหรับนักศึกษาระดับ ปวช. ชั้นปีที่ 1 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 วัตถุประสงค์ของการวิจัย 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา บัญชีเบื้องต้น 1 เรื่อง การบันทึกรายการค้าในบัญชีแยกประเภททั่วไป ของนักศึกษาระดับ ปวช. ชั้นปีที่ 1 ที่เรียนด้วยชุดฝึกทักษะ 3. ศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการจัดกระบวนการเรียนการสอนโดยใช้ชุดฝึกทักษะเรียน วิชา บัญชีเบื้องต้น 1 เรื่อง การบันทึกรายการค้าในบัญชีแยกประเภททั่วไป

  4. กรอบแนวคิดในการวิจัย ตัวแปรตาม ตัวแปรต้น ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน อย่างมีนัยสำคัญที่ 0.05 ชุดฝึกทักษะ ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการจัดกระบวนการเรียนการสอนโดยใช้ชุดฝึกทักษะ

  5. สมมติฐานการวิจัย • 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักศึกษาระดับ ปวช. ชั้นปีที่ 1 ห้อง 14 ที่เรียนด้วยชุดฝึกทักษะ หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญในระดับ 0.05 1. ชุดฝึกทักษะ เรื่อง การบันทึกรายการค้าในบัญชีแยกประเภททั่วไป ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 • 3. ผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการจัดกระบวนการเรียนการสอนโดยใช้ชุดฝึกทักษะ อยู่ในระดับ = 3.50 ขึ้นไป

  6. ระเบียบวิธีวิจัย ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ นักศึกษา ปวช. ชั้นปีที่ 1 ห้อง 3 , 4 , 13 และห้อง 14 จำนวน 180คน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ นักศึกษา ปวช. ชั้นปีที่ 1 ห้อง 14 จำนวน 29คน สุ่มแบบเจาะจง ระยะเวลาที่ใช้ในการศึกษา ในการศึกษาครั้งนี้มีระยะเวลา 3 สัปดาห์ เริ่มดำเนินการ ตั้งแต่ สัปดาห์ที่ 9 -11 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555

  7. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล 1. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จำนวน 2 ชุด ชุดละ 10 ข้อ หาค่าความยากง่าย (p) และค่าอำนวจจำแนก (r) ผู้เชี่ยวชาญจำนวน 5 ท่าน ได้ค่าดัชนีความสอดคล้อง IOC= 0.50 ขึ้นไป 2. ชุดฝึกทักษะเรียน วิชา บัญชีเบื้องต้น 1 เรื่อง การบันทึกรายการค้าในบัญชี แยกประเภททั่วไปการนำผลของผู้เชี่ยวชาญจำนวน 5 ท่าน มีดัชนีความสอดคล้อง IOC= 0.82 3. แบบสอบถามความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการจัดกระบวนการเรียนการสอน

  8. ผลการวิเคราะห์ข้อมูล การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของคะแนนทดสอบก่อน และหลังใช้ชุดฝึกทักษะ เรื่อง การบันทึกรายการค้าในบัญชีแยกประเภททั่วไป

  9. สรุปผลการวิจัย 1. การสร้างและการหาประสิทธิภาพของชุดฝึกทักษะ เรื่อง การบันทึกรายการค้าในบัญชีแยกประเภททั่วไป วิชา บัญชีเบื้องต้น 1 พบว่า ชุดฝึกทักษะ มีความเหมาะสมซึ่งมีค่าดัชนีความสอดคลล้อง (IOC) = 0.82 และจากการนำชุดฝึกทักษะ ไปทดลองใช้กับนึกศึกษากลุ่มทดลอง ระดับ ปวช.1 ปีการศึกษา 2554 ที่ผ่านมา จำนวน 15 คน พบว่า มีประสิทธิภาพ = 80.24 / 84.76 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้ 80/80

  10. สรุปผลการวิจัย (ต่อ) 2. การวิจัยเชิงทดลองกึ่งปฏิบัติการ โดยใช้ชุดฝึกทักษะของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1 ห้อง 14พบว่า 2.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังใช้ชุดฝึกทักษะ โดยนักศึกษามีคะแนนเฉลี่ยหลังใช้ชุดฝึกทักษะ =  15.72สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยก่อนใช้ชุดฝึกของนักศึกษา = 8.25ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ อย่างมีนัยสำคัญที่ 0.05 • 2.2 ระดับความพึงพอใจต่อการจัดกระบวนการเรียนการสอนโดยใช้ชุดฝึกทักษะ พบว่า โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่ค่าเฉลี่ย = 4.24 ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้

  11. สิ้นสุดการนำเสนอ ขอบคุณค่ะ

More Related