1 / 38

ปีงบประมาณ ๒๕๕๘-๕๙ โดย พญ. ขจีรัตน์ ปรักเอโก

การขึ้นทะเบียนหน่วยบริการ ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า. ปีงบประมาณ ๒๕๕๘-๕๙ โดย พญ. ขจีรัตน์ ปรักเอโก. ระบบบริการสาธารณสุข. บริการสาธารณสุข. Good service delivery. Referral system. Health Service Delivery. Special care. Rehabilita tion. Curative. P & P. Holistic care.

Download Presentation

ปีงบประมาณ ๒๕๕๘-๕๙ โดย พญ. ขจีรัตน์ ปรักเอโก

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การขึ้นทะเบียนหน่วยบริการในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าการขึ้นทะเบียนหน่วยบริการในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ปีงบประมาณ ๒๕๕๘-๕๙ โดย พญ.ขจีรัตน์ ปรักเอโก

  2. ระบบบริการสาธารณสุข

  3. บริการสาธารณสุข

  4. Good service delivery

  5. Referral system Health Service Delivery

  6. Special care Rehabilita tion Curative P & P Holistic care Palliative & long term care

  7. ที่มาและเหตุผลการขึ้นทะเบียนหน่วยบริการที่มาและเหตุผลการขึ้นทะเบียนหน่วยบริการ

  8. นโยบาย รัฐ/รมต.(SMART Health) • คณะกรรมการควบคุมคุณภาพฯ • ปัจจัยแวดล้อม UCเปลี่ยนแปลง คู่มือแนวทางการตรวจประเมินเพื่อขึ้นทะเบียนหน่วยบริการ (ฉบับปรับปรุง) ขึ้นระบบ ISO กระทรวงสาธารณสุขประกาศมาตรฐานหน่วยบริการและเครือข่ายของหน่วยบริการ รวมทั้งการจัดเครือข่ายหน่วยบริการ ตามระเบียบว่าด้วยหลักประกันสุขภาพ ประกาศเกณฑ์การตรวจประเมินขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยบริการ(สค.48) สำรวจความเห็น จากผู้เกี่ยวเพื่อปรับปรุงเกณฑ์การขึ้นทะเบียนหน่วยบริการ ปรับโครงสร้างสปสช. ก่อตั้ง สปสช. (มค.46) 2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 สพค.ส่งมอบภารกิจงานเกณฑ์ขึ้นทะเบียนหน่วยบริการประจำ ปฐมภูมิ ร่วมให้บริการ ให้กองทุนปฐมภูมิ มีการหารือเพื่อปรับปรุงเกณฑ์การขึ้นทะเบียนหน่วยบริการ คู่มือแนวทางการตรวจประเมินเพื่อขึ้นทะเบียนหน่วยบริการ (จัดพิมพ์เป็นรูปเล่ม) ข้อบังคับการขึ้นทะเบียนหน่วยบริการ ตาม ม.44 (กย. 47) พ.ร.บ.หลักประกัน สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2545 (พย.45)

  9. กระบวนการหลัก

  10. หลักการการขึ้นทะเบียนหน่วยบริการหลักการการขึ้นทะเบียนหน่วยบริการ

  11. แนวคิดการขึ้นทะเบียนหน่วยบริการแนวคิดการขึ้นทะเบียนหน่วยบริการ

  12. หลักการขึ้นทะเบียนหน่วยบริการหลักการขึ้นทะเบียนหน่วยบริการ เพื่อประกันคุณภาพหน่วยบริการที่ให้บริการแก่ประชาชน • เพื่อจัดประเภทหน่วยบริการที่ให้บริการในระบบหลักประกันฯ • กรณีหน่วยบริการภาครัฐเน้นการตรวจเพื่อประเมินสถานการณ์ สนับสนุนการกระจาย และ พัฒนาหน่วยบริการ • เพิ่มการมีส่วนร่วมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและภาคเอกชน ในพื้นที่ ที่มีศักยภาพแข่งขัน เพื่อเป็นทางเลือกแก่ประชาชน • เพื่อจัดเครือข่ายหน่วยบริการ และ พัฒนาระบบส่งต่อ • เพื่อจ่ายเงินกองทุนหลักประกันสุขภาพ ตามเงื่อนไขที่กำหนด

  13. หน่วยบริการที่รับการส่งต่อ เฉพาะทาง :> จัดบริการเฉพาะสาขา ด้วยแพทย์เฉพาะทางที่ชำนาญ ต้องมีสถานที่และเครื่องมือเฉพาะ ใช้เทคโนโลยีสูง ราคาแพง หน่วยบริการที่รับการส่งต่อ :> ต้องจัดบริการที่เพียงพอ รองรับผลรวมประชากรที่หน่วยบริการประจำระบุว่าจะส่งต่อมา เช่น รพ.ชุมชน รองรับ ทั้งอำเภอ รพ.จังหวัดต้องมีเตียงรองรับทั้งจังหวัด ด้วย หน่วยบริการประจำ :> จัดบริการปฐมภูมิที่ครบถ้วนอย่างเป็นองค์รวม เพียงพอในการดูแลประชากรที่รับผิดชอบ และระบุหน่วยบริการที่จะส่งต่อเมื่อจำเป็น หน่วยบริการปฐมภูมิ/หน่วยบริการร่วมให้บริการ:> เป็นเครือข่ายหน่วยบริการของหน่วยบริการประจำ เพื่อให้บริการครบถ้วน เข้าถึงได้ ของประชากรที่หน่วยบริการประจำรับผิดชอบ www.nhso.go.th/khonkaen

  14. กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปี 2557 2,895.09 บาท ต่อประชากร

  15. กรอบวงเงิน : อัตราเหมาจ่ายรายหัวปี 2557 * ประเภทรายการที่ 4 ครอบคลุมประชากรไทยทุกคน

  16. แนวทางการดำเนินงาน

  17. กระบวนการและเอกสารที่เกี่ยวข้องกระบวนการและเอกสารที่เกี่ยวข้อง

  18. หน่วยบริการ • ให้บริการตามขอบเขต บทบาท และหน้าที่ ตามที่ขึ้นทะเบียนไว้ • พัฒนาส่วนขาด และ พัฒนาคุณภาพบริการอย่างต่อเนื่อง • เบิกจ่ายค่าชดเชยบริการจากกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติตามเกณฑ์ที่กำหนด

  19. แนวคิดการปรับเปลี่ยนการขึ้นทะเบียนหน่วยบริการแนวคิดการปรับเปลี่ยนการขึ้นทะเบียนหน่วยบริการ

  20. สรุปประเด็นที่ขอปรับปรุงข้อบังคับฯสรุปประเด็นที่ขอปรับปรุงข้อบังคับฯ • ปรับนิยามหน่วยบริการใหม่ โดย • หน่วยบริการปฐมภูมิ ให้มีความชัดเจน คือ “ให้บริการปฐมภูมิอย่างเป็นองค์รวม” • หน่วยบริการร่วมให้บริการ ให้สามารถขึ้นทะเบียนโดยตรงเพื่อรับค่าใช้จ่ายในการบริการสาธารณสุขได้ (เช่น คลินิกทันตกรรม คลินิกกายภาพบำบัด การแพทย์แผนไทย ร้านยาคุณภาพ คลินิกพยาบาลและผดุงครรภ์ Nursing Home ศูนย์ฝึกการใช้อุปกรณ์เครื่องช่วยคนพิการ (O&M) เป็นต้น) • เพิ่มหน่วยบริการที่รับการส่งต่อ ได้แก่ “หน่วยบริการรับการส่งต่อเฉพาะทาง” ซึ่งจะขึ้นทะเบียนตามข้อตกลงให้บริการเฉพาะโรคหรือเฉพาะบริการ • ระบุให้ชัดเจนขึ้นว่า สถานบริการภาครัฐ และของสภากาชาดไทยที่จัดตั้งภายหลังปี 2547 ให้เข้าร่วมเป็นหน่วยบริการในระบบ UC ทุกแห่ง รายละเอียดตาม (ร่าง) ข้อบังคับฯ ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข การขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยบริการและเครือข่ายหน่วยบริการ

  21. การจัดประเภทของหน่วยบริการการจัดประเภทของหน่วยบริการ ประเภทหน่วยบริการที่ขอปรับใหม่ ระดับบริการ ประเภทหน่วยบริการเดิม ปฐมภูมิ (Primary Care) หน่วยบริการประจำ หน่วยบริการประจำ หน่วยบริการปฐมภูมิ หน่วยบริการปฐมภูมิ หน่วยบริการร่วมให้บริการ หน่วยบริการร่วมให้บริการ หน่วยบริการร่วมให้บริการ ทุติยภูมิ + ตติยภูมิ (Hospital Care) หน่วยบริการที่รับการส่งต่อทั่วไป หน่วยบริการที่รับการส่งต่อ หน่วยบริการที่รับการส่งต่อเฉพาะทาง

  22. กระบวนการและเอกสารที่เกี่ยวข้องกระบวนการและเอกสารที่เกี่ยวข้อง

  23. ภาพระบบบริการปฐมภูมิในอนาคต (5 ปีข้างหน้า) ประชาชนมีศักยภาพดูแลตนเอง ลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ มีหมอประจำครอบครัว และรู้ว่าใครคือหมอประจำครอบครัว ของตน เมื่อเจ็บป่วยได้รับการดูแลและส่งต่ออย่างเหมาะสม หมอประจำครอบครัว หมายถึง แพทย์ แพทย์ FM และทีม สหวิชาชีพ และมีสมรรถนะด้านเวชศาสตร์ครอบครัว

  24. รูปแบบการจัดบริการของหน่วยบริการปฐมภูมิรูปแบบการจัดบริการของหน่วยบริการปฐมภูมิ มี 2 รูปแบบ คือ หน่วยบริการปฐมภูมิแบบเบ็ดเสร็จ (PCC: Primary Care Center)หมายถึง หน่วยบริการปฐมภูมิที่สามารถจัดบริการได้ครบถ้วนตามขอบเขตบริการปฐมภูมิ โดยมีแพทย์ปฏิบัติงานประจำ ร่วมกับทีม สหวิชาชีพ และมีศักยภาพครบถ้วนตามเกณฑ์การตรวจประเมินขึ้นทะเบียนหน่วยบริการ ปฐมภูมิ สามารถพัฒนาและขอขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยบริการประจำได้ ได้แก่ คลินิกชุมชนอบอุ่น ศสม. ศบส. เป็นต้น หน่วยบริการปฐมภูมิ (PCU: Primary Care Unit) เป็นหน่วยบริการปฐมภูมิที่สามารถจัดบริการได้ตามขอบเขตบริการปฐมภูมิ มีแพทย์ที่ได้รับมอบหมายให้ดูแลและให้คำปรึกษา หรือไปบริการเป็นบางวัน แต่มีทีมสหวิชาชีพ ปฏิบัติงานประจำ ได้แก่ รพ.สต. ศสม. หน่วยบริการ ปฐมภูมิของรพช. และรพท. รพศ.ที่ไม่มีแพทย์ประจำ ศบส. เป็นต้น

  25. ภาพระบบบริการปฐมภูมิในอนาคต (5 ปีข้างหน้า) หน่วย รับส่งต่อ CUP PCC หน่วยร่วมให้ บริการ PCU PCU PCU หน่วยร่วมให้ บริการ PCU

  26. แนวทางการปรับเกณฑ์การขึ้นทะเบียนหน่วยบริการ • ปรับภาษาให้เข้าใจง่าย ลดความสับสนในการตีความ • กำหนดบทบาทหน่วยบริการประจำ ในการบริหารจัดการเครือข่ายหน่วยบริการ ให้ชัดเจนขึ้น สอดคล้องกับ DHS • ทบทวนปรับปรุงเกณฑ์ให้สอดคล้องกับ service plan และมาตรฐานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะเกณฑ์บริการ และเกณฑ์บุคลากร การมีส่วนร่วมของชุมชน/ท้องถิ่น • ปรับแนวทางการให้คะแนนในการตรวจประเมินหน่วยบริการในระดับบริการปฐมภูมิ ทั้งรายข้อและการสรุปผลการตรวจประเมิน เพื่อแสดงระดับคุณภาพ และชี้ทิศการพัฒนา • การแยกบัญชีธนาคารเพื่อรับเงินกองทุนฯสำหรับบริการระดับปฐมภูมิ แยกจากเงินบำรุงโรงพยาบาล

  27. การใช้ประโยชน์จากเกณฑ์การขึ้นทะเบียนหน่วยบริการการใช้ประโยชน์จากเกณฑ์การขึ้นทะเบียนหน่วยบริการ • เป็นการประกันคุณภาพบริการให้แก่ประชาชนว่า หน่วยบริการมีความพร้อมให้บริการตามขอบเขต บทบาท และหน้าที่ ตามที่ขึ้นทะเบียนไว้ • ชี้ทิศการพัฒนา พัฒนาตามส่วนขาด และ พัฒนาคุณภาพบริการอย่างต่อเนื่อง • เบิกจ่ายค่าชดเชยบริการจากกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติตามเกณฑ์ที่กำหนด

  28. บริการเฉพาะทาง ที่ร่วมให้บริการกับ สปสช • 9. มะเร็ง • 9.1 Leukemia & Lymphoma • 9.2 มะเร็งเคมีบำบัด • 9.3 มะเร็งรังสีรักษา • 10. วัณโรคดื้อยา • 10.1 หน่วยบริการรักษาด้วยยาพื้นฐาน • 10.2 หน่วยบริการที่รักษาการติดเชื้อวัณโรคดื้อยา • 10.3 Laboratory Testing • 11. หัวใจ • 11.1 รับส่งต่อระดับตติยภูมิเฉพาะทาง • ศัลยกรรมหัวใจ • 11.2 ผ่าตัดเปลี่ยนหัวใจ • 11.3 ใส่สายสวนหัวใจ (Cath Lab) • 11.4 ให้ยาละลายลิ่มเลือด • 12. หลอดเลือดสมอง • 12.1 ผ่าตัดสมอง • 12.2 ให้ยาละลายลิ่มเลือด • 13. หน่วยสำรองเตียง • 13.1 การรักษาทารกแรกเกิด • 13.2 การรักษาและการผ่าตัดสมองทางสมอง • และระบบประสาท • 13.3 การรักษาและการผ่าตัดหัวใจ • 13.4 การรักษาที่ต้องใช้เครื่องช่วยหายใจ • Hemophilia • HIV 2.1 คลินิกยาต้านไวรัสเอดส์ (AVR) 2.2 Laboratory Testing CD4 VL PCR DR 2.3 Voluntary Counseling & Testing (VCT) 3.ข้อเข่าเทียม (อุปกรณ์) 4.นิ่ว 4.1 ผ่าตัดแบบเปิด/เจาะ 4.2 ส่องกล้อง 4.3 สลายนิ่ว 5. การผ่าตัดปลูกถ่ายตับในเด็กท่อน้ำดีตีบตั้งแต่กำเนิด  6. ตา 6.1 การผ่าตัดตาต้อกระจก 6.2 Laser ภาวะเบาหวานขึ้นจอประสาทตา 7. ไตวายเรื้อรัง 7.1 การล้างไตผ่านช่องท้อง (CAPD) 7.2 การฟอกเลือดด้วยไตเทียม (HD) 7.3 การผ่าตัดปลูกถ่ายไต (KT) 7.3.1 หน่วยบริการผ่าตัดปลูกถ่ายไต 7.3.2 หน่วยบริการจ่ายยากดภูมิ 8. ปากแหว่ง/เพดานโหว่ 8.1 ผ่าตัด 8.2 ฝึกพูด 8.3 จัดฟัน

  29. Q&A

More Related