1 / 37

ขอต้อนรับเข้าสู่บทเรียน เรื่อง สุขศึกษาและพละศึกษา

ขอต้อนรับเข้าสู่บทเรียน เรื่อง สุขศึกษาและพละศึกษา. สุขศึกษาและพละศึกษา. ระบบหายใจส่วนบน. ระบบหายใจส่วนล่าง. กล้ามเนื้อที่ใช้ในการหายใจ. กล้ามเนื้อที่ยึดระหว่างซี่โครง. โรคที่เกิดในระบบหายใจ. อวัยวะในระบบหายใจ. กลไกการทำงานระบบหายใจ. หลอดคอ หลอดเสียง. กระบวนการทำงานระบบหายใจ.

Download Presentation

ขอต้อนรับเข้าสู่บทเรียน เรื่อง สุขศึกษาและพละศึกษา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ขอต้อนรับเข้าสู่บทเรียนขอต้อนรับเข้าสู่บทเรียน เรื่อง สุขศึกษาและพละศึกษา

  2. สุขศึกษาและพละศึกษา ระบบหายใจส่วนบน ระบบหายใจส่วนล่าง กล้ามเนื้อที่ใช้ในการหายใจ กล้ามเนื้อที่ยึดระหว่างซี่โครง โรคที่เกิดในระบบหายใจ อวัยวะในระบบหายใจ กลไกการทำงานระบบหายใจ หลอดคอ หลอดเสียง กระบวนการทำงานระบบหายใจ โรคของระบบหายใจ

  3. ระบบหายใจส่วนบน ทางเดินหายใจส่วนบน (อังกฤษ: Upper respiratory tract, upper airway) ประกอบด้วยอวัยวะต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการหายใจเหนือกล่องเสียง (larynx) ขึ้นไป เช่นจมูก,  คอหอย (pharynx) เป็นต้น โดยทางเดินหายใจส่วนบนนั้นจะทำหน้าที่เป็นทางผ่านของอากาศจากภายนอกเข้าสู่ทางเดินหายใจส่วนล่างต่อไป

  4. ระบบหายใจส่วนล่าง ทางเดินหายใจส่วนล่าง (อังกฤษ: lower respiratory tract) เป็นทางเดินของอากาศที่อยู่ถัดจากทางเดินหายใจส่วนบนมีความสำคัญคือลำเลียงอากาศเข้าสู่ปอดเพื่อแลกเปลี่ยนแก๊ส ประกอบด้วยกล่องเสียง (larynx), หลอดคอ (trachea), หลอดลมใหญ่หรือหลอดลมปอด (bronchus) และปอด

  5. กล้ามเนื้อที่ใช้ในการหายใจกล้ามเนื้อที่ใช้ในการหายใจ 1.ซี่โครง 2.กล้ามเนื้อที่ยึดระหว่างซี่โครง (intercostal muscles) ซึ่งมี 2 ชั้นคือ ชั้นนอก (External) ชั้นใน (Internal) และชั้นในสุด (innermost) 3.กล้ามเนื้อกระบังลม และ 4.เนื้อเยื่อที่ห่อหุ้มด้านในของผนังทรวงอก เรียกว่า เยื่อหุ้มปอด (Pleura) ซึ่งมีอยู่ 2 ชั้นคือ ชั้นนอก (Parietal pleura) และชั้นใน (Visceral pleura) กล้ามเนื้ออื่น ๆ ที่มีส่วนช่วยในกระบวนการหายใจ ได้แก่ กล้ามเนื้อท้อง กล้ามเนื้อรอบกระดูกหน้าอก หน้าหลัก ย้อนกลับ ถัดไป

  6. กล้ามเนื้อที่ยึดระหว่างซี่โครงกล้ามเนื้อที่ยึดระหว่างซี่โครง กล้ามเนื้อยึดระหว่างซี่โครงชั้นนอก (External intercostal muscles) มีทั้งหมด 11 คู่ ซึ่งกล้ามเนื้อแต่ละมัด มีขอบเขตเริ่มจากบริเวณปุ่มกระดูกของซี่โครงจากทางด้านหลัง และสิ้นสุดที่รอยต่อระหว่างกระดูกซี่โครงกับกระดูกอ่อนของซี่โครงทางด้านหน้าโดยที่จุดสิ้นสุดส่วนที่เป็นเนื้อเยื่อกล้ามเนื้อจะเปลี่ยนเป็นเยื่อหนา ๆ แทน ใยของกล้ามเนื้อมัดนี้จะมีลักษณะเฉียงจากทางด้านหลังมาด้านหน้า และจากบนลงล่าง โดยกล้ามเนื้อมีจุดยึดเกาะเริ่มต้นที่บริเวณขอบล่างของกระดูกซี่โครงชิ้นบน กล้ามเนื้อยึด ซี่โครงชั้นใน

  7. กล้ามเนื้อยึดซี่โครงชั้นในกล้ามเนื้อยึดซี่โครงชั้นใน กล้ามเนื้อยึดระหว่างชี่โครงชั้นใน (Internal intercostal muscles) มีทั้งหมด 11 คู่เช่นกัน กล้ามเนื้อกลุ่มนี้อยู่ชั้นลึกใต้กล้ามเนื้อชั้นนอก และมีแนวกล้ามเนื้อตั้งฉากกับกล้ามเนื้อชั้นนอก โดยมีแนวการเกาะยึดจากร่องของกระดูกซี่โครงชิ้นบน เฉียงลงทางด้านหลังมาเกาะยึดอยู่ที่บริเวณขอบบนของกระดูกซี่โครงชิ้นล่าง

  8. อวัยวะในระบบหายใจ 1.รูจมูก (Nostrill) เป็นทางผ่านเข้าของอากาศ 2.ช่องจมูกหรือโพรงจมูก (Nasal cavity) เป็นโพรงที่ถัดจากรูจมูกเข้าไปซึ่งติดต่อกับคอหอย ที่โพรงจมูกจะมีขนเส้นเล็ก ๆ และต่อมน้ำมันช่วยกรองและจับฝุ่นละอองไม่ให้ผ่านลงสู่ปอด นอกจากนี้ที่โพรงจมูกยังมีเยื่อบุจมูกหนาช่วยให้อากาศที่เข้ามามีความชุ่มชื้น 3.คอหอย (Pharynx) เป็นบริเวณที่พบกันของช่องอากาศจากจมูก ช่องอาหารจากปาก กล่องเสียงจากหลอดลมคอ

  9. อวัยวะในระบบหายใจ 5.ขั้วปอด (Bronchus)เป็นส่วนของหลอดลมที่แยกออกเป็นกิ่ง ซ้ายและขวาเข้าสู่ปอด 6.แขนงขั้วปวดหรือหลอดลมฝอย (Bronchiole)เป็นแขนงของท่อลมที่แยกออกไปมากมายแทรกอยู่ทั่วไปในเนื้อปอด ซึ่งจะไปสิ้นสุดที่ถุงลม (alveolus) 7.ถุงลมเล็ก ๆ ในปอด (alveolu)ที่ผนังของถุงลมจะมีเส้นเลือดฝอยล้อมรอบอยู่มากมาย จึงเป็นแหล่งในการแลกเปลี่ยนก๊าซ ภายในปอดของคนมีอัลวิโอลัส (ถุงลมเล็ก ๆ )ประมาณ 300 ล้านถุง )

  10. โรคที่เกิดในระบบหาบใจ โรคที่เกิดในระบบหาบใจ โรคของระบบหายใจเป็นบัญชีโรคย่อยหนึ่งจากบัญชีจำแนกทางสถิติระหว่างประเทศของโรคและปัญหสุขภาพที่เกี่ยวข้องฉบับทบทวนครั้งที่ 10 (ICD-10) ซึ่งเป็นรหัสของโรคและอาการอาการแสดงความผิดปกติที่ตรวจพบ อาการนำ สภาพสังคม หรือสาเหตุภายนอกของการบาดเจ็บหรือโรค จัดทำขึ้นโดยองค์การอนามัยโลกโดยแล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2535 โดยมีวัตถุประสงค์ในการจัดประเภทการเจ็บป่วยตามเกณฑ์เพื่อใช้บันทึกเพื่อรวบรวมเป็นข้อมูลทางสถิติในการวางแผนสุขภาพในระดับสากล การติดเชื้อ

  11. การติดเชื้อ • คอหอยส่วนจมูกอักเสบเฉียบพลัน ไข้หวัด • โพรงอากาศอักเสบเฉียบพลัน • คอหอยอักเสบเฉียบพลัน • คอหอยอักเสบจากเชื้อสเตร็ปโตค็อกคัส • เจ็บคอจากเชื้อสเตร็ปโตค็อกคัส • คอหอยอักเสบเฉียบพลันจากเชื้ออื่นที่ระบุ • คอหอยอักเสบเฉียบพลันไม่ระบุรายละเอียด • ทอนซิลอักเสบเฉียบพลัน

  12. กลไกการทำงานระบบหายใจกลไกการทำงานระบบหายใจ การหายใจ คือการนำออกซิเจนไปสู่เซลล์ และเอาคาร์บอนไดออกไซด์ออกไปจากเซลล์ ในสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว เช่น อมีบา ออกซิเจนจะซึมผ่านผนังเซลล์ (Cell membrane) เข้าเยื่อบุเซลล์โดยตรง แต่ในสิ่งมีขีวิตที่ซับซ้อน เช่น มนุษย์ การที่เซลล์แต่ละเซลล์ในร่างกายจะหายใจได้ต้องใช้การทำงานของ 2 ระบบ คือ 1. ระบบหายใจ (Respiratory system) 2. ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory system) ซึ่งเป็นเรื่องของการขนส่งออกซิเจน (O2) ไปสู่เซลล์ต่าง ๆ

  13. กลไกการทำงานระบบหายใจกลไกการทำงานระบบหายใจ 1. ระบบหายใจ (Respiratory system) 2. ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory system) ซึ่งเป็นเรื่องของการขนส่งออกซิเจน (O2) ไปสู่เซลล์ต่าง ๆ

  14. หลอดคอ หลอดเสียง หลอดคอ (Pharynx)มีลักษณะเป็นหลอดคอยาวประมาณ 5 นิ้ว เริ่มจากสันหลังของโพรงจมูกไปถึงหลอดอาหาร (Esophagus) มีรูปกรวย ปลายบนกว้าง ปลายล่างแคบ ประกอบด้วยกล้ามเนื้อเส้นใย ภายในบุด้วยเยื่อเมือกชนิดเดียวกับโพรงจมูก เปิดไปสู่กล่องเสียง (Larynx) และหลอดอาหาร จึงเป็นทางผ่านของทั้งอาหารและอากาศกล่องเสียง (Larynx) กล่องเสียง

  15. กล่องเสียง กล่องเสียงตั้งอยู่ข้างบน และด้านหน้าของคอ ระหว่างโคนลิ้นกับปลายของท่อลม (Trachea) ตรงระหว่างกระดูกก้านคอเป็นอวัยวะรูปสามเหลี่ยมประกอบด้วยกระดูก 9 ชิ้น ยึดด้วย เอ็นและกล้ามเนื้อ

  16. กระบวนการทำงานของระบบหายใจ อากาศเมื่อเข้าสู่ปอดจะไปอยู่ในถุงลม ซึ่งมีลักษณะกลมคล้ายลูกองุ่น ซึ่งปอดต่ละข้างจะมีถุงลมข้างละ 150 ล้านถุง แต่ะถุงมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางไม่ถึง 0.1 มิลลิเมตร ถุงลมทุกอันจะมีหลอดเลือดฝอยมาห่อหุ้มไว้ การแลกเปลี่ยนแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ออกซิเจน ไนโตรเจน และไอน้ำ ผ่านเข้าออกถุงลมโดยผ่านเยื่อบางๆของถุงลมเลือดจากหัวใจมาสู่ปอด เป็นเลือดที่มีออกซิเจนต่ำ คาร์บอนไดออกไซด์สูง เมื่อมาสู่ถุงลมจะมีการแลกเปลี่ยนแก๊สโดยออกซิเจนในถุงลมจะแพร่เข้าสู่เส้นเลือด ขณะเดียวกันคาร์บอนไดออกไซด์ในเส้นเลือดจะแพร่เข้าสู่ถุงลม แล้วขับออกทางลมหายใจออก ภาพประกอบ

  17. ภาพประกอบ

  18. โรคของระบบหายใจ โรคระบบหายใจคือภาวะพยาธิสภาพใดๆ ซึ่งเกิดกับอวัยวะเนื้อเยื่อที่ทำหน้าที่ในการแลกเปลี่ยนก๊าซในสัตว์ชั้นสูง หมายรวมถึงภาวะซึ่งเกิดกับทางเดินหายใจส่วนบนหลอดลมใหญ่หลอดลมหลอดลอมฝอยถุงลมเยื่อหุ้มปอดโพรงเยื่อหุ้มปอดและเส้นประสาทและกล้ามเนื้อที่ทำหน้าที่ในการหายใจ โรคระบบหายใจมีตั้งแต่เป็นน้อยหายได้เอง เช่นหวัดไปจนถึงโรคซึ่งเป็นอันตรายถึงชีวิต เช่นปอดบวมจากเชื้อแบคทีเรียลิ่มเลือดตันในปอดและมะเร็งปอดเป็นต้น ภาพประกอบ

  19. ภาพประกอบ

  20. ประวัติผู้จัดทำ ชื่อ-สกุล นายวีรพงษ์อ่อนหวานชื่อเล่น แม็คเกิดวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ.2538ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จากโรงเรียนบ้านบึงหัวแหวนจบชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นที่โรงเรียนบ่อพลอยรัชดาภิเษกปัจจุบันกำลังศึกษาอยู่ระดับชั้นมัธยศึกษาปีที่6 โรงเรียนบ่อพลอยรัชดาภิเษก

  21. ประวัติผู้สอน ชื่อ อาจารย์ปกรณ์กฤษ นามสกุล หวังกุ่มตำแหน่ง ครู ค.ศ.2 สังกัดกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพละเทคโนโลยีสารสนเทศ ( คอมพิวเตอร์ ) โรงเรียนบ่อพลอยรัชดาภิเษกจังหวัดกาญจนบุรี การติดต่อkorn.2514@hotmail.com www.pkkan.net

  22. ประวัติอาจารย์ที่ปรึกษาประวัติอาจารย์ที่ปรึกษา

More Related