1 / 16

พันธุศาสตร์ประชากร

พันธุศาสตร์ประชากร. Population genetics. จัดทำโดย นายอนุพงศ์ ธรรมรัตน์ 4 ก นายนวัช สุนิภาษา 6 ก นายอิธิชัย ประสพสุข 8 ก นายต่อพงศ์ สวัสดี 10 ก นายศักรินทร์ สุขมาก 10 ข ม .6/9. ประชากร.

Download Presentation

พันธุศาสตร์ประชากร

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. พันธุศาสตร์ประชากร Population genetics

  2. จัดทำโดย นายอนุพงศ์ ธรรมรัตน์ 4ก นายนวัช สุนิภาษา 6ก นายอิธิชัย ประสพสุข 8ก นายต่อพงศ์ สวัสดี 10ก นายศักรินทร์ สุขมาก 10ข ม.6/9

  3. ประชากร • หมายถึง กลุ่มของสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่รวมกันในพื้นที่หนึ่งๆโดยสมาชิกในประชากรของสิ่งมีชีวิตนั้นสามารถสืบพันธุ์ระหว่างกันได้และให้ลูกที่ไม่เป็นหมัน ในประชากรหนึ่งๆ จะประกอบด้วยสมาชิกที่มียีนควบคุมลักษณะต่างๆจำนวนมาก ยีนทั้งหมดที่มีอยู่ในประชากรในช่วงเวลาหนึ่ง เรียกว่า ยีนพูล (gene pool) ซึ่งประกอบด้วย แอลลีล (alleele) ที่เป็นองศ์ประกอบทางพันธุกรรมของประชากร และปัจจัยที่ทำให้ความถี่ของแอลลีเปลี่ยนแปลง สิ่งที่น่าสนใจคือเราจะศึกษา

  4. การหาความถี่ของแอลลีลในประชากร การหาความถี่ของแอลลีลในประชากร จากบทเรียนที่ผ่านมานักเรียนได้ทราบแล้วว่าในสิ่งมีชีวิตที่เป็นดิพลอยด์ในแต่ละเซลล์มีจำนวนโครโมโซมเพียง 2 ชุดและแต่ละยีนจะมี 2 แอลลีล ดังนั้นถ้านักเรียนรู้จำนวนจีโนไทป์แต่ละชนิดของประชากรนักเรียนจะสามารถหา ความถี่ของจีโนไทป์ (genotype frequency) และความถี่ของแอลลีลในประชากรได้จากตัวอย่างดังนี้

  5. ในประชากรไม้ดอกชนิดหนึ่งที่ลักษณะสีดอกถูกควบคุมโดยยีน 2 แอลลีลคือ R ควบคุมลักษณะดอกสีแดงเป็นลักษณะเด่นและ r ควบคุมลักษณะดอกสีขาวซึ่งเป็นลักษณะด้วย ในประชากรไม้ดอก1000ต้นมีดอกสีขาว 40ต้น และดอกสีแดง 960 ต้น โดยกำหนดให้เป็นดอกสีแดงที่มีจีโนไทป์ RR 640 ต้น และดอกที่มีจีโนไทป์ Rr 320 ต้น

  6. ทฤษฎีของฮาร์ดี-ไวน์เบริร์กทฤษฎีของฮาร์ดี-ไวน์เบริร์ก จี เอชฮาร์ดี (G.H.Hardy) และดับเบิยู ไวน์เบร์ก (W.Weinberg) ได้ศึกษายีนพลูของประชากรและได้เสนอ ทฤษฎีของฮาร์ดี-ไวน์เบริก(Hardy-Weinberg Theorem) ขึ้นโดบกกล่าวว่าความถี่ของแอลลีลและความถี่ของจีโนไทป์มนยีนพลูของประชากรจะมีค่าคงที่ ในทุกๆรุ่น ถ้าไม่มีปัจจัยบางอย่างมาเกี่ยวข้อง เช่น มิวเทชันการคัดเลือกโดยธรรมชาติ การอพยพ แรนดอมจีเนติกดริฟท์(random genetic drift) และการถ่ายเทเคลื่อนย้ายยีน (gene flow) เป็นต้น ซึ่งปัจจัยดังกล่าวนักเรียนจะได้ศึกษาในหัวข้อต่อไป

  7. ถ้ายีนในประชากรหนึ่งเป็นไปตามทฤษฎีของฮาร์ดีไวน์เบิร์ก นักเรียนคิดว่าองศ์ประกอบทงาพันธุกรรมของประชากรมีการเปลี่ยนแปลงหรือไม่เพราะเหตุใด นักเรียนสามารถศึกษาทฤษฎีของฮาร์ดี -ไวน์เบิร์กได้จากตัวอย่างประชากรไม้ดอกในภาพที่ 19-15 พบว่ายีนพลูของประชากรรุ่นพ่อแม่นั้นมีความถี่ของแอลลีลR=0.8 และ r=0.2 ถ้าสมาชิกทุกต้นในประชาชนมีโอกาสผสมพันธุได้เท่าๆ กันแล้วเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้และเซลล์สืบพันธุ์เพศเมียที่มีแอลลีลR มีความถี่=0.8 และ r มีความถี่ =0.2 เมื่อมีการรวบรวมกันของเซลล์สืบพันธุประชากรไม้ดอกในรุ่นลูกจะมีจีโนไทป์

  8. และจากความถี่ของจีโนไทป์ในรุ่นลูกดังกล่าว แสดงว่าความถี่ของแอลลีลในรุ่นลูกมีความถี่ของแอลลีลR=0.8 และ r=0.2 นั่นคือ ประชากรไม้ดอกในรุ่นลูกยังคงมีความถี่ของจีโทบ์แลความถี่ของแอลลีลเหมือนประชากรในรุ่นพ่อแม่ หรืออาจกล่าวได้ว่ายีนพูลของประชากรอยู่ใน ภาวะสมดุลของฮาร์ดี-ไวน์เบิร์ก (Hardy Weinberg Equilibrium หรือ HWE) จากตัวอย่างประชากรไม้ดอกสีแดง และสีขาวที่กล่าวมาแล้วนั้นสีของดอกไม้เป็นลักษณะทางพันธุกรรมที่ควบคุมด้วยยีน 2 แอลลีลคือ Rและr จะอธิบายสมการของฮาร์ดี-ไวน์เบิร์กได้ดังนี้

  9. กำหนดให้ p คือความถี่ของแอลลีลR=0.8 q คือความถี่ของแอลลีลr = 0.2 และp+q=1 นั่นคือ ผลรวมความถี่ของแอลลีลของยีนหนึ่งๆในประชากรมีค่าเท่ากับ 1 ดังนั้นอาจกล่าวได้ว่า P=1 - q หรือ q = 1 -p เมือเซลล์สืบพันธุ์รวมกัน ความถี่ของจีโนไทป์ในรุ่นต่อไปจะเป็นไปตามกฎของการคูณ คือ ความถี่ของจีโนไทป์ RR คือp2= (0.8)2=0.64 ความถี่ของจีโนไทป์ rrคือ q2=(0.2)2 =0.04 และความถี่ของจีโนไทป์ Rrคือ 2pq=2(0.8)(0.2)=0.32 เมื่อรวมความถี่ทุกจีโนไทป์จะมีค่าเท่ากับ 1 นั่นคือ p2+2pq+q2=1

  10. จากสมการของฮาร์ดี - ไวน์เบิร์กสามารถนำมาใช้หาความถี่ของแอลลีลหรือความถี่ของจีโนไทป์ของยีนพูลในประชากรได้ ดังนั้นเมื่อประชากรอยู่ในสมดุลของฮาร์ดี-ไวน์เบิร์ก ความถี่ของแอลลีล และความถี่ของจีโนไทป์ในยีนพูลของประชากรจะคงที่ไม่มี การเปลี่ยนแปลงไม่ว่าจะถ่ายทอดพันธุกรรมไปกี่รุ่นก็ตามหรืออีกนัย หนึ่งคือไม่เกิดวิวัฒนาการนั่นเอง

  11. ประชากรจะอยู่ในสมดุลของฮาร์ดี-ไวน์เบิร์กได้จะต้องมีเงื่อนไขดังนี้ ประชากรจะอยู่ในสมดุลของฮาร์ดี-ไวน์เบิร์กได้จะต้องมีเงื่อนไขดังนี้ 1.ประชากรมีขนาดใหญ่ 2.ไม่มีการถ่ายเทเคลื่อนย้ายยีนระหว่างกลุ่มประชากร 3.ไม่เกิดมิวเทชัน ซึ่งจะทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของแอลลีลในประชากร 4.สมาชิกทุกตัวมีโอกาสผสมพันธ์ได้เท่ากัน 5.ไม่เกิดการคัดเลือกโดยธรรมชาติ โดยสิ่งมีชีวิตทุกตัวมีโอกาสอยู่รอด ลัประสบความสำเร็จในการสืบพันธุ์ได้เท่าๆกัน

  12. การประยุกต์ใช้ทฤษฎีของฮาร์ดี-ไวน์เบิร์กการประยุกต์ใช้ทฤษฎีของฮาร์ดี-ไวน์เบิร์ก นักเรียนสามารถนำทางทฤษฎีของฮาร์ดี-ไวน์เบิร์กมาใช้ประโยชน์การคาดคะเนความถี่ของแอลลีลที่เกี่ยวข้องกับโรคทางพันธุกรรมในยีนพูลของประชากร เช่น โรคโลหินจางชนิดซิกเคิลเซลล์ ถ้าทราบจำนวนคนที่เป็นโรคนี้ซึ่งถูกควบคุมด้วนยีนด้วยจะสามารถประมาณจำนวนประชากรที่เป็นพาหะของยีนที่ทำให้เกิดโรคนี้ได้

  13. ตัวอย่างเช่น ในประชากรทางชนิดซิกเคิลเซลล์ จำนวน 9 คนจากจำนวนประชากรทั้งหมด 10,000คน ดังนั้นจะสามารถคาดคะเนความถี่ของแอลีลที่ทำให้เกิดโรคในประชากรของจังหวัดนี้ได้โดยกำหมดให้จีโนไทป์aaแสดงลักษณะของโรคโลหิตจางชนิดซิกเคิลเซลล์ • ดังนั้นความถี่ของaaคือ p2=9/10000 = 0.000 q = 0.03

  14. แสดงว่าในประชากรแห่งนี้มีความถี่ของแอลลีลที่ทำให้เกิดโรคโลหิตจางชนิดซิกเคิลเซลล์ เท่ากับ 0.03 หรือประมาณร้อยละ 3 นั่นเอง - จากตัวอย่างความถี่ของแอลลีลA ในประชากรนี้คิดเป็นร้อยละเท่าใด - จากตัวอย่าง ประชากรในรุ่นพ่อแม่ที่เป็นพาหนะของโรคมีจำนวนกี่คน - ถ้าประชากรนี้อยู่ในสมดุลของฮาร์ดี-ไวน์เบิร์ก นักเรียนคิดว่าความถี่ของแอลลีลด้อยในประชาชนมีแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงอย่างไรต่อไปในอีก 50 รุ่น

More Related