1 / 43

แผนพัฒนาระบบสถาบันการเงิน

แผนพัฒนาระบบสถาบันการเงิน. แผนพัฒนาระบบสถาบันการเงิน. แผนพัฒนาระบบสถาบันการเงิน. พรบ. ธพ. พัฒนาประสิทธิภาพ การกำกับ สง. (esp. Consol supervision , PCA). Deposit Insurance. Credit Bureau. ระบบ สง. สามารถให้บริการทางการเงินอย่างทั่วถึง และมีประสิทธิภาพ เสถียรภาพ

cloris
Download Presentation

แผนพัฒนาระบบสถาบันการเงิน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แผนพัฒนาระบบสถาบันการเงินแผนพัฒนาระบบสถาบันการเงิน

  2. แผนพัฒนาระบบสถาบันการเงินแผนพัฒนาระบบสถาบันการเงิน แผนพัฒนาระบบสถาบันการเงิน พรบ. ธพ. พัฒนาประสิทธิภาพการกำกับ สง. (esp. Consol supervision , PCA) Deposit Insurance Credit Bureau ระบบ สง. สามารถให้บริการทางการเงินอย่างทั่วถึง และมีประสิทธิภาพ เสถียรภาพ รวมถึงระดับการแข่งขันที่เหมาะสม เกื้อหนุนให้ สง. มีระบบป้องกันความเสี่ยงที่มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น(โดยเฉพาะอย่างยิ่ง Credit Risk) ป้องกันมิให้ผู้เสียภาษี ต้องรับผิดชอบต่อปัญหาของระบบ สง. แทนผู้ที่เกี่ยวข้องโดยตรง โดยเฉพาะผู้ถือหุ้นหลัก 2

  3. การดำเนินการในการจัดทำแผนพัฒนาฯการดำเนินการในการจัดทำแผนพัฒนาฯ ระยะที่ 1 (ระบุปัญหาในระบบ สง. และกำหนดวิสัยทัศน์) • การจัดสัมมนาเรื่อง “Modernizing Our Financial System” (ม.ค. 2545) • เพื่อระดมความเห็นเกี่ยวกับปัญหาในระบบ สง. และแนวทางการพัฒนาระบบ สง. ไทย และใช้เป็นข้อมูลประกอบการจัดทำแผนพัฒนาฯ • การจัดตั้งคณะกรรมการจัดทำแผนพัฒนาฯ (ก.พ. 2545) • กำหนดวัตถุประสงค์ของแผนพัฒนาฯ และขอบเขตการดำเนินงาน • กำหนดวิธีการดำเนินงานและควบคุมการดำเนินงานของคณะทำงานฯ • กำหนดทิศทาง แนวนโยบาย และให้ข้อเสนอแนะในการพัฒนาระบบ สง. รวมทั้งอาจให้ข้อเสนอในการปรับปรุงโครงสร้างระบบการเงินและโครงสร้างอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 3

  4. ขอบเขตของแผนพัฒนาฯ ขอบเขต • ไม่รวมถึงCapital Market, Debt Market และ Insurance Market • ระบบ สง. ได้แก่ • ธพ. • สง.เฉพาะกิจ • บง. • บค. • ความสัมพันธ์ระหว่าง Financial Sector และ Financial Markets อื่นๆ โดยเน้นเฉพาะการส่งเสริมบทบาทของ สง. ที่รับเงินฝากในตลาดดังกล่าว Insurance market Capital market Financial sector Debt market 4

  5. สมมติฐาน และวิสัยทัศน์ของระบบ สง. สมมติฐาน • ประชาชนบางกลุ่มยังไม่ได้รับการตอบสนองต่อความต้องการบริการทางการเงินอย่างเพียงพอ ทั้งในเชิงปริมาณและในเชิงคุณภาพ วิสัยทัศน์ของระบบ สง. 3 ประการ • ส่งเสริมให้ระบบสถาบันการเงินตอบสนองความต้องการใช้บริการทางการเงินของผู้ใช้บริการที่มีศักยภาพอย่างทั่วถึง • ปรับปรุงให้มีระบบ สง. ที่มีประสิทธิภาพ มีเสถียรภาพ มีการแข่งขัน และมีองค์ประกอบของระบบ สง. ทั้งในส่วนของ สง. ตลาดตราสารหนี้ และตลาดตราสารทุนที่ค่อนข้างสมดุล • ดูแลให้ผู้บริโภคได้รับความคุ้มครองและความเป็นธรรม 5

  6. การดำเนินการในการจัดทำแผนพัฒนาฯ (ต่อ) ระยะที่ 2 (วิเคราะห์สาเหตุของปัญหา) • จัดจ้างบริษัทวิจัยและบริษัทที่ปรึกษา เพื่อนำข้อมูลที่ได้ไปใช้ประกอบการพิจารณากำหนดข้อเสนอแนะต่อไป บริษัทวิจัย: • เพื่อสำรวจความต้องการบริการทางการเงินของประชาชนและของธุรกิจ เพื่อทดสอบสมมติฐานและยืนยันว่าประชาชนกลุ่มใดที่ยังไม่ได้รับตอบสนองความต้องการบริการทางการเงินอย่างเพียงพอ และมีสาเหตุมาจากอะไร บริษัทที่ปรึกษา: • เพื่อศึกษาฐานะ โครงสร้าง แนวโน้มระบบการเงินไทย เปรียบเทียบกับระบบการเงินต่างประเทศ ซึ่งรวมถึงข้อมูลจากการทำ Workshop กับกลุ่มลูกค้าและกลุ่มผู้ให้บริการต่างๆ 6

  7. บริการด้านเงินกู้ รายได้น้อย 36.72 % (รายได้ครัวเรือนต่ำกว่า 100,000 บาท/ปี) รายได้ปานกลาง 6.87% (รายได้ครัวเรือน 100,001-200,0000 บาท/ปี) รายได้สูง 12.06% (รายได้ครัวเรือน 200,001-500,0000 บาท/ปี) มี access ด้านเงินกู้ 42.30% รายได้สูงมาก 2.05% (รายได้ครัวเรือนมากกว่า 500,0000 บาท/ปี) ไม่มี access ด้านเงินกู้ 57.70% บริการด้านเงินฝาก รายได้น้อย 9.94 % (รายได้ครัวเรือนต่ำกว่า 100,000 บาท/ปี) มี access ด้าน เงินฝาก 87.10% รายได้ปานกลาง 1.05% (รายได้ครัวเรือน 100,001-200,0000 บาท/ปี) รายได้สูง 1.80% (รายได้ครัวเรือน 200,001-500,0000 บาท/ปี) ไม่มี access ด้านเงินฝาก 12.90% รายได้สูงมาก 0.12% (รายได้ครัวเรือนมากกว่า 500,0000 บาท/ปี) ผลการศึกษา: บริษัทวิจัยบริการทางการเงินในประเทศไทยยังไม่ทั่วถึง (Quantitative Gap) ประชาชน 7

  8. บริการทางการเงินในประเทศไทยยังไม่ทั่วถึง (Quantitative Gap) ผู้ประกอบการ บริการด้านเงินกู้ ไม่มี access ด้านเงินกู้ 23.37% มี access ด้านเงินกู้ 76.63% ผู้ประกอบการ SMEs 21.83% ผู้ประกอบการขนาดใหญ่1.54% บริการด้านเงินฝาก มี access ด้านเงินฝาก99.50% ไม่มี access ด้านเงินฝาก 0.50% ผู้ประกอบการ SMEs 0.40% ผู้ประกอบการขนาดใหญ่ 0.10% 8

  9. สาขาของ SFI และ ธพ. จะกระจายอยู่เฉพาะอำเภอใหญ่ ๆ ธกส. ธ. ออมสิน ธพ. เอกชน ธพ. รัฐ • 10 field services* • 1 mobile unit นครพนม พื้นที่: 5,512.67 ตร. กม. อำเภอ: 12 อำเภอ พื้นที่เฉลี่ย: 459.39 ตร. กม./อำเภอ สง. ยังไม่กระจายช่องทางการให้บริการไปนอกเมือง ณมี.ค. 45 ประเทศไทย มี 42 อำเภอ ที่ไม่มีสาขา สง. ใดๆ อยู่เลย • ในจังหวัดนครพนมมีเพียง9 อำเภอจาก 12 อำเภอที่ได้รับบริการทางการเงิน • ประชาชนเดินทางไปใช้บริการจาก ธกส. โดยเฉลี่ย3 ครั้ง ต่อปี ซึ่งต้องใช้เวลาและมีค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปใช้บริการทางการเงิน 9 * Do not handle cash transaction Source: BAAC customer survey; McKinsey’s analysis

  10. บริการทางการเงินในประเทศไทยยังไม่เป็นที่พอใจของผู้ใช้บริการบริการทางการเงินในประเทศไทยยังไม่เป็นที่พอใจของผู้ใช้บริการ (Qualitative Gap) ประชาชนต้องการให้ปรับปรุงบริการทางการเงินในด้าน • ราคาเช่นอัตราค่าบริการและอัตราผลตอบแทน • ความสะดวกรวดเร็วในการให้บริการเช่นระยะเวลาในการอนุมัติสินเชื่อ ผู้ประกอบการต้องการให้ปรับปรุงบริการทางการเงินในด้าน • ราคาเช่นอัตราดอกเบี้ยผลตอบแทนหรือค่าธรรมเนียม • ความสะดวกรวดเร็วของการอนุมัติสินเชื่อ • ความยืดหยุ่นของเงื่อนไขการชำระคืน • ความรวดเร็วของบริการด้านการโอนเงิน/ชำระเงิน • ความรับผิดชอบต่อลูกค้า 10

  11. การให้บริการทางการเงินในปัจจุบันยังไม่ตอบสนองต่อผู้มีรายได้น้อยการให้บริการทางการเงินในปัจจุบันยังไม่ตอบสนองต่อผู้มีรายได้น้อย ผู้มีรายได้น้อยในเมือง • ขาดทางเลือกของผู้ให้บริการ • ยังคงกู้ยืมนอกระบบซึ่งมีอัตราดอกเบี้ยสูง • ไม่สามารถเข้าถึงช่องทางการให้บริการทางการเงินหรือช่องทางไม่มีประสิทธิภาพ ผู้มีรายได้น้อยในชนบท ภาคเกษตร • ขาดความหลากหลายของบริการทางการเงิน • ช่องทางการให้บริการทางการเงินไม่เพียงพอและแพง นอกภาคเกษตร • ทางเลือกของผู้ให้บริการทางการเงินค่อนข้างไม่หลากหลาย • มีปัญหาใกล้เคียงกับผู้มีรายได้ต่ำในเมือง 11

  12. Market-based financial system – findings from benchmarking Fragmented, relatively uncompetitive industry structure with small, undifferentiated players • There are too many uncompetitive small players in the system • SFIs and State-owned banks are untransparent/ underperforming • A number of specific regulations weaken competition among existing players and inhibit the flexibility and innovation of both local and foreign players • Even the big players need to find ways of accessing scale benefits in areas such as recruitment of talent, risk diversification, IT investment & back-office processing • Foreign participation and non-bank entrants have had minimal competitive impact Individual players are less skilled, productive and innovative than peers • There are skill gaps in risk management • Bank productivity is low, and performance management systems weak • Players are only making limited use of superior business solutions, e.g. alliances and outsourcing Elements of the infrastructure undermine industry and player performance • There is a perception that the legal system does not protect creditors • The information infrastructure is improving, but improvements are still possible • Consumer protection relies too heavily on regulator intervention • Fragmented regulatory bodies are sub-optimal as bank activities converge • The pool of debt market issuers and investors is not sufficiently deep การประเมินปัญหาในระบบ สง. ไทย และสาเหตุ 12

  13. การดำเนินการในการจัดทำแผนพัฒนาฯ (ต่อ) ระยะที่ 3 (กำหนดข้อเสนอแนะ) • ธปท. ร่างข้อเสนอแนะในการพัฒนาระบบ สง. ทั้งในรูปกลยุทธ์และแผนการดำเนินการ และนำเสนอต่อ กผส. พิจารณาแล้วเมื่อ พ.ค. 2546 • ธปท. ได้นำเสนอข้อเสนอแนะภายใต้แผนพัฒนาฯ ต่อกระทรวงการคลัง ในเดือน มิ.ย. 2546 และ ครม. มีมติรับทราบแผนพัฒนา ฯ ในเดือน ม.ค. 2547 13

  14. แผนพัฒนาระบบสถาบันการเงินแผนพัฒนาระบบสถาบันการเงิน มาตรการส่งเสริมบริการทั่วถึง มาตรการส่งเสริมประสิทธิภาพระบบ สง. มาตรการดูแลผู้บริโภค จัดรูปแบบ & บทบาท สง. ให้ชัดเจน ในชนบท สง. ไทย ในเมืองใหญ่ สง. ต่างประเทศ One Presence น้ำหนักความเสี่ยง ปรับปรุงกฏ ระเบียบ 14

  15. มาตรการส่งเสริมการให้บริการทางการเงินอย่างทั่วถึงมาตรการส่งเสริมการให้บริการทางการเงินอย่างทั่วถึง ส่งเสริมการให้บริการของ Service Providers ดังต่อไปนี้ ผู้มีรายได้น้อยในชนบท • องค์กรการเงินชุมชน • สำหรับประชาชนผู้มีรายได้น้อยระดับรากหญ้า • สง. เฉพาะกิจ ผู้มีรายได้น้อย และ SMEs ในเมืองใหญ่ • ธพ. • แนวทาง Micro Finance สำหรับ ธพ. • ให้ใบอนุญาตธนาคารพาณิชย์เพื่อรายย่อย (ธย.) (รายละเอียดในส่วนมาตรการส่งเสริมประสิทธิภาพ ระบบ สง.) 15

  16. บริการทางการเงินทั่วถึงบริการทางการเงินทั่วถึง การส่งเสริมองค์กรการเงินชุมชน องค์กรการเงินชุมชนยังมีประเด็นที่ต้องเสริมสร้างความเข้มแข็งในด้านต่างๆ ได้แก่ การบริหารจัดการ • การบริหารจัดการยังขึ้นกับผู้นำกลุ่มเป็นหลัก ซึ่งบางกลุ่มอาจขาดความสามารถในการบริหารทางการเงินในเรื่องต่างๆ เช่น การบริหารสภาพคล่อง การบริหารความเสี่ยงของเงินกู้ เป็นต้น • อาจขาดความต่อเนื่องของความสามารถในการบริหารจัดการ ถ้าไม่ได้มีการวางระบบการบริหารที่ดี การบริหารสภาพคล่อง • ไม่สามารถเข้าถึงแหล่งทุนต้นทุนต่ำอื่นๆได้อย่างมีประสิทธิภาพ • กลุ่มที่ขยายตัวแล้วและมีเงินเหลือ อาจขาดช่องทางในการลงทุนที่มีประสิทธิภาพ ในขณะที่บางกลุ่มที่เพิ่งเริ่มก่อตั้งอาจขาดเงินทุนที่จำเป็น และไม่สามารถหาแหล่งเงินทุนได้ ความมั่นคง • การขยายตัวและขยายเครือข่าย ถ้าไม่มั่นคง อาจสร้างความเสียหายต่อระบบการออมของประชาชน 16

  17. บริการทางการเงินทั่วถึงบริการทางการเงินทั่วถึง • กระทรวงการคลังได้ดำเนินการจัดตั้ง คณะกรรมการส่งเสริมบริการทางการเงินระดับรากหญ้า • มี รมต. กค. เป็นประธาน และ ผว. ธปท. เป็นกรรมการ โดยมีผู้แทนจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอย่างครอบคลุม • จุดประสงค์: เพื่อกำหนดแผนแม่บทในการส่งเสริมบริการทางการเงินระดับรากหญ้า โดยจะพิจารณามอบหมายให้หน่วยงานที่เหมาะสมทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางเพื่อพัฒนาองค์กรการเงินชุมชนประเภทต่างๆ 17

  18. บริการทางการเงินทั่วถึงบริการทางการเงินทั่วถึง การส่งเสริมสถาบันการเงินเฉพาะกิจ • ขยายบทบาทของธ.ก.ส. ให้เป็นสถาบันการเงินเพื่อการ พัฒนาชนบท (ครม. ได้เห็นชอบร่าง พรบ. ธกส. ที่กระทรวงการคลัง เสนอแล้ว ขณะนี้ อยู่ระหว่างการพิจารณาของสำนักงาน คณะกรรมการกฤษฏีกา รอเสนอต่อสภา) • ปรับปรุงผลิตภัณฑ์ของ SFIs ให้มีความยืดหยุ่นมากขึ้น เช่น • การจ่ายชำระคืนหนี้เป็นจำนวนน้อย ๆ • หลักประกันประกอบการให้สินเชื่อ • ความรวดเร็วในการให้บริการ 18

  19. บริการทางการเงินทั่วถึงบริการทางการเงินทั่วถึง การส่งเสริมธนาคารพาณิชย์ ธพ. สามารถให้บริการทางการเงินระดับรากหญ้าได้ในระดับถัดขึ้นมา แต่ต้องเปลี่ยนรูปแบบการทำธุรกิจให้เหมาะสม แผนดำเนินการเพื่อสนับสนุน สัมมนา • ธปท. ได้จัดสัมมนาเรื่อง แนวทางสนับสนุนการให้บริการทางการเงินแก่ผู้มีรายได้น้อย เมื่อวันที่ 6 พฤศจิกายน 2546 เพื่อชี้ให้ธนาคารพาณิชย์เห็นถึงโอกาสทางธุรกิจของธนาคารพาณิชย์ในการขยายการให้บริการทางการเงินแก่ผู้มีรายได้น้อย และ SMEs โดยนำเสนอผล Survey และ Business model ของการให้บริการเงินแก่ผู้มีรายได้น้อยที่สามารถทำกำไรได้ Pilot Project • ธปท. ร่วมกับธพ.ที่สนใจทำ Pilot project ซึ่งปรับเปลี่ยน business model ให้เหมาะสม 19

  20. มาตรการส่งเสริมประสิทธิภาพระบบ สง. • จัดระเบียบสถาบันการเงินไทย • รูปแบบใบอนุญาตสถาบันการเงินไทย • กระทรวงการคลังจัดตั้งคณะกรรมการเพื่อพิจารณาเกณฑ์การให้ • ใบอนุญาตและคำขอ • 1. ธนาคารพาณิชย์ (ธพ.) • ทำธุรกรรมการเงินได้เต็มรูปแบบ • ยกเว้น การออกกรมธรรม์ประกันภัยหรือประกันชีวิตการ Underwrite ตราสารทุนและการเป็นนายหน้าและผู้ค้าตราสารทุน • 2. ธนาคารพาณิชย์เพื่อรายย่อย(ธย.) • บริการทางการเงินพื้นฐานแก่ SMEs และประชาชนทั่วไป • ยกเว้น เหมือน ธพ. และธุรกิจเกี่ยวกับปัจจัยชำระเงินต่างประเทศ*และตราสารอนุพันธ์** 20 * เว้นแต่จะได้รับอนุญาตจาก รมต. ** เว้นแต่จะเป็นการป้องกันความเสี่ยงสำหรับตนเอง

  21. มาตรการส่งเสริมประสิทธิภาพระบบ สง. • 2. ธนาคารพาณิชย์เพื่อรายย่อย(ธย.) (ต่อ) • เงื่อนไขการให้สินเชื่อของ ธย. • SME หมายถึง กิจการที่มีจำนวนการจ้างงานหรือมูลค่าสินทรัพย์ถาวรสุทธิไม่รวมที่ดินดังต่อไปนี้* • สินเชื่อแก่ SME ไม่เกินร้อยละ 10 ของเงินกองทุนชั้นที่ 1 • สินเชื่อแก่ประชาชนรายย่อยที่ไม่มีหลักประกันไม่เกินร้อยละ 0.05 ของเงินกองทุนชั้นที่1 • สินเชื่อแก่ประชาชนรายย่อยที่มีหลักประกันไม่เกินร้อยละ 1 ของเงินกองทุนชั้นที่ 1 21 * ที่มา: กฎกระทรวงกำหนดจำนวนการจ้างงานและมูลค่าสินทรัพย์ถาวรของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมพ.ศ. 2545

  22. มาตรการส่งเสริมประสิทธิภาพระบบ สง. เงินกองทุนและเงื่อนไขที่สำคัญ • (1) ธนาคารพาณิชย์ • ต้องมีเงินกองทุนชั้นที่ 1 ไม่ต่ำกว่า 5,000 ล้านบาท • ต้องเป็นแกนในการควบรวมกับ บง./บค. แห่งอื่นอีกอย่างน้อย 1 แห่ง • (2) ธนาคารพาณิชย์เพื่อรายย่อย • ต้องมีเงินกองทุนชั้นที่ 1 ไม่ต่ำกว่า250ล้านบาท 22

  23. มาตรการส่งเสริมประสิทธิภาพระบบ สง. การยื่นคำขอ • ช่วงแรก • บง./บค. ที่ผ่านเกณฑ์เท่านั้นสามารถยื่นขออนุญาตปรับสถานะเป็น ธพ. หรือ ธย. • ระยะต่อมาเมื่อภาวะเศรษฐกิจเหมาะสม (หลังจาก 3 ปีแรก) • อาจให้ธย. ยกระดับเป็น ธพ. เมื่อมีความพร้อม • อาจเปิดให้ผู้ลงทุนรายใหม่ขออนุญาตประกอบธุรกิจ ธพ., ธย. 23

  24. มาตรการส่งเสริมประสิทธิภาพระบบ สง. คุณสมบัติของ บง./บค. ที่สามารถยื่นคำขอ • ผ่านเกณฑ์คุณภาพการจัดการในด้านต่างๆ ดังนี้ • บทบาทและพฤติกรรมของกรรมการและผู้บริหารระดับผู้อำนวยการฝ่ายขึ้นไป • การบริหารความเสี่ยง • การดำเนินธุรกิจที่มีความเสี่ยงสูง • โครงสร้างองค์กรและระบบงาน • การควบคุมภายในและการตรวจสอบ • การปฏิบัติตามกฎระเบียบที่สำคัญ • การให้ความร่วมมือกับทางการ • พฤติกรรมไม่ขัดต่อหลักธรรมาภิบาล 24

  25. มาตรการส่งเสริมประสิทธิภาพระบบ สง. คุณสมบัติของ บง./บค. ที่สามารถยื่นคำขอ (ต่อ) • ผ่านเกณฑ์เชิงปริมาณ ได้แก่ • ดำรงเงินกองทุนสุทธิเป็นอัตราส่วนต่อสินทรัพย์เสี่ยงถ่วงน้ำหนักไม่ต่ำกว่าร้อยละ 10 • มีอัตราส่วนสินทรัพย์ด้อยคุณภาพต่อสินทรัพย์รวมไม่เกินกว่าร้อยละ 15 • กันเงินสำรองสำหรับสินทรัพย์ที่สงสัยว่าจะไม่มีราคาหรือเรียกคืนไม่ได้เพียงพอ • มีแผนที่จะควบหรือรวมกิจการหรือรับโอนสินทรัพย์และหนี้สินทั้งหมดหรือส่วนใหญ่จาก บง./บค. แห่งอื่นกรณีขอจัดตั้ง ธพ. ที่มิใช่ ธย. • ไม่มีบุคคลอื่นเข้ามาเป็นผู้ถือหุ้นหลักรายใหม่ในระหว่างระยะเวลาที่กำหนด* • * เว้นแต่การเข้ามาเป็นผู้ถือหุ้นหลักรายใหม่เนื่องจากกรณีการควบหรือรวมกิจการตามแผนการควบหรือรวมกิจการ 25

  26. 2เดือน 1 ปีเว้นแต่จะได้รับการผ่อนผันกรณีควบรวม ยื่นภายใน 6 เดือน + ตรวจเอกสาร และจัดเตรียมเอกสารเพื่อประกอบการพิจารณาคำขอ 1 เดือนนับจากวันสิ้นสุดการยื่น 3เดือนนับจากวันที่เอกสารครบ ฯ มาตรการส่งเสริมประสิทธิภาพระบบ สง. กระบวนการยื่นคำขอจัดตั้ง ธพ. ของสถาบันการเงินไทย ปฏิบัติตามเงื่อนไข (ซึ่งรวมถึงควบรวมกับ บง./บค.แห่งอื่น) คณะกรรมการฯ พิจารณาคำขอ รมต.พิจารณา ผ่านเกณฑ์คุณสมบัติของผู้ที่สามารถยื่นคำขอจัดตั้งธพ. ส่งแผน มายัง ธปท. ต้องการเป็นธพ. ธพ. ประกาศกรอบ ผู้เข้าข่าย ธพ. ปฏิบัติตามเงื่อนไข คณะกรรมการฯ พิจารณาคำขอ รมต. พิจารณา ส่งแผน มายัง ธปท. ปรับปรุงสถานะ ต้องการเป็น ธย. ธย. ผู้ไม่เข้าข่าย ขอ upgrade ได้เมื่อเปิดดำเนินการมาแล้ว  3 ปี สภาพเศรษฐกิจเหมาะสมและต้องควบรวม 26

  27. มาตรการส่งเสริมประสิทธิภาพระบบ สง. จัดระเบียบสถาบันการเงินต่างประเทศ • รูปแบบใบอนุญาตสถาบันการเงินต่างประเทศ • กระทรวงการคลังจัดตั้งคณะกรรมการเพื่อพิจารณาเกณฑ์การให้ใบอนุญาต • และคำขอ (คณะกรรมการเดียวกับที่จะพิจารณากรณีสถาบันการเงินไทย) • 1. ธพ. ที่เป็นบริษัทลูกของธนาคารต่างประเทศ (Subsidiaries) • ทำธุรกรรมการเงินได้เท่าเทียมกับ ธพ. • ขอเปิดสำนักงานสาขาได้ 1 สาขาในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล และ 3 สาขา นอกเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล • 2. สาขาของธนาคารต่างประเทศ (Full Branches) • ทำธุรกรรมการเงินได้เท่าเทียมกับ ธพ. • ห้ามมีสำนักงานสาขา 27

  28. มาตรการส่งเสริมประสิทธิภาพระบบ สง. เงินกองทุนและเงื่อนไขสำคัญ • (1) Subsidiaries: • ต้องมีทุนจดทะเบียนซึ่งชำระแล้วไม่ต่ำกว่า 4,000 ล้านบาท • (2) Full branches: • ต้องมีเงินกองทุน (สินทรัพย์ตามมาตรา 6 ใน พรบ. ธพ. พ.ศ. 2505) ไม่ต่ำกว่า 3,000 ล้านบาท 28

  29. มาตรการส่งเสริมประสิทธิภาพระบบ สง. การยื่นคำขอ • ช่วงแรก • Stand-alone BIBFs ที่ผ่านเกณฑ์เท่านั้นสามารถยื่นขออนุญาตปรับสถานะเป็น Full Branch หรือ Subsidiary • Stand-alone BIBFs ที่ประสงค์จะขอปรับสถานะเป็น Subsidiary จะต้องมีแผนที่จะควบรวมกับ บง./ บค. อย่างน้อยอีก 1 แห่ง • Full Branch ที่ผ่านเกณฑ์เท่านั้นสามารถยื่นขออนุญาตปรับสถานะเป็น Subsidiary • ระยะต่อมา เมื่อภาวะเศรษฐกิจเหมาะสม • อาจเปิดให้ผู้ลงทุนต่างประเทศรายใหม่ขออนุญาตประกอบธุรกิจ • Full Branch หรือ Subsidiary 29

  30. มาตรการส่งเสริมประสิทธิภาพระบบ สง. คุณสมบัติของผู้ที่สามารถยื่นคำขอ • เป็นธนาคารต่างประเทศทีให้ความร่วมมือกับทางการเป็นอย่างดี และมีบทบาทในการพัฒนาเศรษฐกิจและพัฒนาความรู้ในระบบการเงินของไทย • เป็นธนาคารต่างประเทศที่มีขนาดใหญ่ มีชื่อเสียง มีฐานะมั่นคง และมีผลการดำเนินงานดี • เป็นธนาคารต่างประเทศที่มีประสบการณ์และความชำนาญในการดำเนินธุรกิจการเงินระหว่างประเทศเป็นอย่างดี • เป็นธนาคารต่างประเทศที่จดทะเบียนในประเทศที่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับประเทศไทยทั้งด้านการเงิน การค้า และการลงทุน 30

  31. มาตรการส่งเสริมประสิทธิภาพระบบ สง. คุณสมบัติของผู้ที่สามารถยื่นคำขอ (ต่อ) • เป็นธนาคารต่างประเทศที่จดทะเบียนในประเทศที่มีมาตรฐานการกำกับควบคุมสถาบันการเงินเป็นอย่างดี และน่าเชื่อถือ • เป็นธนาคารต่างประเทศที่จดทะเบียนในประเทศที่ธนาคารกลางและหน่วยงานกำกับสถาบันการเงินของประเทศนั้นมีความสัมพันธ์อันดีกับธนาคารแห่งประเทศไทย • เป็นธนาคารต่างประเทศที่จดทะเบียนในประเทศที่ธนาคารแห่งประเทศไทยสามารถขอข้อมูลเกี่ยวกับผลการดำเนินการหรือข้อมูลอื่นๆ เพื่อประโยชน์ในการกำกับและดูแลความมั่นคงของ ธพ. หรือ สาขาธนาคารต่างประเทศนั้นๆ • เป็นธนาคารต่างประเทศที่จดทะเบียนในประเทศที่เปิดโอกาสให้ธนาคารพาณิชย์ของไทยเข้าไปดำเนินธุรกิจในประเทศนั้น ในระดับที่ใกล้เคียงกับที่ประเทศนั้นได้รับจากประเทศไทย 31

  32. + ตรวจสอบเอกสาร 1 เดือน นับจากวันสิ้นสุดการยื่น Subsidiary ยื่นภายใน 6 เดือน (รอบแรก ) Branch ยื่นภายใน 6 เดือน (มี 1 รอบ) มาตรการส่งเสริมประสิทธิภาพระบบ สง. กระบวนการยื่นขอจัดตั้ง ธพ. ของสถาบันการเงินต่างชาติ 1. BIBFs (stand alone) ผ่านเกณฑ์คุณสมบัติของผู้ที่สามารถยื่นคำขอ จัดตั้ง Subsidiary ปฏิบัติตามเงื่อนไข (ซึ่งรวมถึงควบรวมกับ ธพ. หรือ สง.) คณะกรรมการฯ พิจารณาคำขอ รมต.ให้ความเห็นชอบ ต้องการเป็นSubsidiary ส่งแผน มายัง ธปท. Subsidiary ประกาศกรอบ ปฏิบัติตามเงื่อนไข คณะกรรมการฯ พิจารณาคำขอ รมต.ให้ความเห็นชอบ ต้องการเป็นFull Branch Full Branch ส่งแผน มายัง ธปท. Subsidiary ผ่านเกณฑ์คุณสมบัติของผู้ที่สามารถยื่นคำขอ จัดตั้ง Full Branch ขอเปลี่ยนสถานภาพได้ เมื่อสภาพเศรษฐกิจเหมาะสม โดยจะต้องมีแผนควบรวมกับ ธพ. หรือ สง. (Subsidiary)1 ปี เว้นแตได้รับผ่อนผัน (Branch) 6 เดือน 3เดือน 2 เดือน 2. Full Branch ผ่านเกณฑ์คุณสมบัติของผู้ที่สามารถยื่นคำขอจัดตั้ง Subsidiary ปฏิบัติตามเงื่อนไข ประกาศกรอบ คณะกรรมการฯ พิจารณาคำขอ รมต.ให้ความเห็นชอบ ต้องการเป็นSubsidiary ส่งแผน มายัง ธปท. Subsidiary 1 ปีเว้นแต่ได้รับผ่อนผัน ยื่นภายใน 6 เดือน (รอบแรก) + ตรวจสอบเอกสาร 1 เดือน นับจากวันสิ้นสุดการยื่น 3เดือน 2 เดือน 32

  33. มาตรการส่งเสริมประสิทธิภาพระบบ สง. นโยบาย One Presence รูปแบบใบอนุญาตสถาบันการเงินไทยและต่างประเทศแบบใหม่ แก้ไขปัญหาความแตกต่างของขอบเขตธุรกิจของ สง. ประเภทต่างๆ คงเหลือเฉพาะสิทธิประโยชน์ทางภาษีสำหรับธุรกรรม Out-out ภายใน สง. ประโยชน์จาก Economy of Scale และลดความซ้ำซ้อนในระบบ สง. กลุ่มธุรกิจการเงินหนึ่งๆ ควรมีสถาบันการเงินที่รับเงินฝากจากประชาชนเพียง 1 รูปแบบ (One Presence) เท่านั้น (โดย BIBF จะเป็นเพียงส่วนหนึ่งของ สง.) 33

  34. มาตรการส่งเสริมประสิทธิภาพระบบ สง. น้ำหนักความเสี่ยงของสินเชื่อ 34

  35. มาตรการส่งเสริมประสิทธิภาพระบบ สง. น้ำหนักความเสี่ยงของสินเชื่อ(ต่อ) * ทั้งนี้ จะต้องแบ่งแยก Portfolio ที่ใช้น้ำหนักความเสี่ยงตามหลักเกณฑ์ปัจจุบันและหลักเกณฑ์ใหม่ให้ชัดเจนเมื่อสินเชื่อแก่ลูกหนี้รายใดจัดอยู่ใน Portfolio ใดแล้วห้ามโอนย้ายลูกหนี้ข้าม Portfolio ไปมา 35

  36. รวมเป็นสาขา ธพ. ตปท. สาขา ธพ. ต่างประเทศและ บง. หรือ BIBF ในเครือ ขอปรับสถานะเป็น Subsidiary ยังคงเป็นสาขา ธพ. ตปท. สาขา ธพ. ต่างประเทศ เดี่ยว ขอปรับสถานะเป็น Subsidiary ขอปรับสถานะเป็นสาขา ธพ. ตปท. BIBF เดี่ยว ขอควบรวมกับ บง./บค. และปรับสถานะเป็น Subsidiary มาตรการส่งเสริมประสิทธิภาพระบบ สง. การปรับสถานะของสถาบันการเงิน ธพ. ไทยและ BIBF ยังคงเป็น ธพ. รวมกับ ธพ. แม่ ขอปรับสถานะเป็น ธย. บง. บค. ขอควบรวมและปรับสถานะเป็น ธพ. 36

  37. มาตรการส่งเสริมประสิทธิภาพระบบ สง. ระบบสถาบันการเงินในปัจจุบัน บง./บค. บง. (5) บง.+บง. (2) บง. + สาขา ธพ. ต่างประเทศ + BIBF (2) บง. + BIBF (2) บค. (5) ธพ. ไทย ธพ. ไทย (1) ธพ.ไทย+ BIBF (4) ธพ. ไทย + บง. (1) ธพ.ไทย + บง. + BIBF (3) Hybrid + BIBF (2) Hybrid + สาขา ธพ. ต่างประเทศ + BIBF (2) สาขา ธพ. ต่างประเทศ สาขา ธพ. ต่างประเทศ (3) สาขา ธพ. ต่างประเทศ + BIBF (11) BIBF BIBF เดี่ยว (2) รวม ธพ. ไทย (13) บง. (18)บค. (5)สาขา ธพ. ต่างประเทศ (18) BIBF (29) 37

  38. มาตรการส่งเสริมประสิทธิภาพระบบ สง. การดำเนินการต่อไป • ออกประกาศที่เกี่ยวข้องเพื่อให้สอดคล้องกับประกาศกระทรวงการคลังที่เกี่ยวกับ Licensing ทั้ง 3 ฉบับ • ลดอุปสรรคในการควบรวม สง. • ยกเว้นภาษีและค่าธรรมเนียมที่เกี่ยวข้อง • คงสิทธิประโยชน์ทางภาษีเฉพาะธุรกิจ out-out ที่ทำใน สง. เท่านั้น 38

  39. มาตรการส่งเสริมประสิทธิภาพระบบ สง. ให้มีกฏ ระเบียบที่ส่งเสริมประสิทธิภาพการดำเนินงานของ สง. ปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานของระบบ สง. ไทย • ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างหน่วยงานที่มีหน้าที่กำกับดูแล สง. • ปรับปรุงและแก้ไขปัญหาทางด้านเครดิตของ Credit Bureau • ศึกษาปัญหาและอุปสรรคจาก Foreclosure Law และ Bankruptcy Law เพื่อพิจารณาหาข้อเสนอแนะ แก้ไขอุปสรรคในกรณี สง. ควบรวมกัน • อุปสรรคจากร่าง พรบ. ธุรกิจ สง. ฉบับใหม่ไม่ยกเว้นภาษีกรณี การควบรวมกันระหว่างสถาบันการเงิน • ส่งเสริมการควบรวมระหว่างสถาบันการเงิน 39

  40. มาตรการส่งเสริมประสิทธิภาพระบบ สง. ผ่อนปรนกฎเกณฑ์ที่ขัดขวางการพัฒนาประสิทธิภาพของ สง. • ยกเลิกหลักเกณฑ์ที่กำหนดให้ ธพ. ที่ต้องการเปิดสาขาในเขตที่มี ธพ. หนาแน่น กระจายการเปิดสาขาออกไปยังเขตอำเภอรอบนอก • ปรับเงื่อนไขเรื่องการปิดสาขาแห่งสุดท้ายในเขตอำเภอหนึ่งๆให้ยืดหยุ่นขึ้น โดยให้ธพ. เสนอช่องทางการให้บริการทางการเงินทดแทน • ยกเลิกเงื่อนไขที่กำหนดให้ ธพ. ในภูมิภาคให้สินเชื่อในภูมิภาคนั้น ไม่ต่ำกว่า 60% ของเงินฝาก • ผ่อนปรนการกำหนดจำนวนบุคลากรชาวต่างประเทศที่ปฏิบัติงานใน ธพ. • ยกเลิกเงื่อนไขที่กำหนดให้สาขา ธพ. ต่างชาติให้สินเชื่อและประกอบธุรกิจ ในไทยไม่ต่ำกว่า 70% ของเงินฝากและเงินกู้ยืมในประเทศ • พิจารณาอนุญาตให้ สง. ประกอบธุรกรรมใหม่ในลักษณะกลุ่มผลิตภัณฑ์ • กำหนดเกณฑ์ส่งเสริมสังคมและเศรษฐกิจที่เหมาะสมทดแทน 40

  41. มาตรการส่งเสริมประสิทธิภาพระบบ สง. เสริมสร้างความเข้มแข็งให้แก่ สง. ไทย • ส่งเสริมการพัฒนาความสามารถด้านการบริหารความเสี่ยง • ส่งเสริมหลักธรรมาภิบาลใน สง. • เปิดโอกาสให้ สง. เลือกโครงสร้างแบบ Bank-parent Structure หรือ HoldingCompany Structure และมีขอบเขตธุรกิจกว้างขึ้น • สนับสนุนให้ สง. พิจารณา Alternative Business Model ที่จะช่วย เพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผล ส่งเสริมให้กลไกตลาดทำงานอย่างมีประสิทธิภาพและ ประชาชนมีทางเลือกในการใช้บริการทางการเงิน • มี Exit Procedure ที่ชัดเจนสำหรับ สง. ที่อ่อนแอ • พัฒนาตลาดทุนอย่างต่อเนื่องเพื่อเป็นทางเลือกหนึ่งในการระดมทุน 41

  42. มาตรการดูแลผู้บริโภค ส่งเสริมกลไกคุ้มครองผู้บริโภค • ให้สถาบันการเงินแต่ละแห่งจัดให้มีกระบวนการร้องเรียนของ ผู้บริโภคอย่างชัดเจน • ให้มีการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับบริการที่ง่ายต่อการเข้าใจและการ เปรียบเทียบของผู้บริโภค • ติดตามการเปิดเผยข้อมูลสถานะและผลการดำเนินงานของ สง. ให้เป็นไปตาม International Standard • พิจารณานำระบบประกันเงินฝาก (DepositInsurance Scheme มาใช้ในช่วงระยะเวลาที่เหมาะสม และยกเลิกการประกันเงินฝากในลักษณะ Blanket Guarantee) 42

  43. อนาคตระบบสถาบันการเงินไทยอนาคตระบบสถาบันการเงินไทย • ธปท. ชี้แจงแผนพัฒนาระบบสถาบันการเงินต่อ สง. ไทยและต่างชาติ • กระทรวงการคลังออกประกาศปรับสถานะ สง. มค. 2547 กพ.-กค. 2547 สง. ยื่นคำขอปรับสถานะ และแผนการดำเนินการ One Presence ผ่านกระบวนการพิจารณาคำขอ มค. 2548 รมต. กค. พิจารณาคำขอเสร็จสิ้น • การเปลี่ยนแปลงรูปแบบและบทบาทของระบบสถาบันการเงินไทยเริ่มมีความชัดเจนขึ้นเป็นลำดับ • Gap ในการให้บริการทางการเงินเริ่มมีแนวโน้มลดลง • มาตรการที่เกี่ยวข้องกับการปรับปรุงประสิทธิภาพของ ระบบ สง. และการคุ้มครองผู้บริโภคเริ่มมีผล มิย. 2548 เป็นต้นไป 43

More Related