1 / 54

Supply Chain Management การจัดการโซ่อุปทาน

Supply Chain Management การจัดการโซ่อุปทาน. โดยว่าที่ รต ธเนศร์ โสรัตน์ รองประธานกรรมการ V-SERVE GROUP. Chapter 9. บทที่ 9. Outsourcing Logistics Service ผู้บริการภายนอกในงานโลจิสติกส์. B39. Outsource. Overview Reasons for outsourcing Process of outsourcing Criticisms of outsourcing

clodia
Download Presentation

Supply Chain Management การจัดการโซ่อุปทาน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Supply Chain Managementการจัดการโซ่อุปทาน โดยว่าที่ รต ธเนศร์ โสรัตน์ รองประธานกรรมการ V-SERVE GROUP Chapter 9

  2. บทที่ 9 Outsourcing Logistics Service ผู้บริการภายนอกในงานโลจิสติกส์ B39

  3. Outsource • Overview • Reasons for outsourcing • Process of outsourcing • Criticisms of outsourcing • Evaluation of outsourcing

  4. Process of outsourcing • Deciding to outsource. • Supplier proposal. • Supplier Competition.

  5. Process of outsourcing • Negotiations. • Contract finalization. • Transition.

  6. Process of outsourcing • Transformation. • Ongoing service delivery. • Termination or renewal.

  7. How to Choose the right outsource

  8. รายการตรวจเช็คสำหรับขั้นตอนการคัดเลือกตัวผู้ให้บริการรายการตรวจเช็คสำหรับขั้นตอนการคัดเลือกตัวผู้ให้บริการ

  9. รายการตรวจเช็คสำหรับขั้นตอนการคัดเลือกตัวผู้ให้บริการรายการตรวจเช็คสำหรับขั้นตอนการคัดเลือกตัวผู้ให้บริการ

  10. รายการตรวจเช็คสำหรับขั้นตอนการคัดเลือกตัวผู้ให้บริการรายการตรวจเช็คสำหรับขั้นตอนการคัดเลือกตัวผู้ให้บริการ *หากข้อมูลจากการศึกษาวิจัยอิสระแตกต่างจากข้อมูลอ้างอิงที่ได้จากตัวผู้ให้บริการ ให้ปรับคะแนนของคุณตามนั้นด้วย

  11. Outsource

  12. การบริหารจัดการโซ่อุปทานโลจิสติกส์เป็นกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการเคลื่อนย้ายสินค้าและบริการ, การรวบรวม , จัดซื้อ-จัดหา , การบรรจุภัณฑ์ , การจัดเก็บ และการกระจายสินค้า ผ่านกระบวนการต่างๆ ในโซ่อุปทานโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้สินค้าได้มีการรับและส่งมอบเป็นช่วงๆ ตั้งแต่ต้นน้ำ-กลางน้ำ จนถึงสินค้าและบริการนั้นๆได้ส่งมอบไปยังผู้บริโภค (Origin to Customer)

  13. ความหมายของผู้ให้บริการภายนอก (Outsources) Lomas 1997 : • ได้ให้คำนิยามความหมายของ Outsourcing หมายถึง กิจกรรมทางด้านผู้ให้บริการโลจิสติกส์เป็นการเลือกสรรให้องค์กรภายนอกมาดำเนินกิจกรรมต่างๆบางส่วนหรือทั้งหมดให้กับองค์กรธุรกิจ ภายใต้สัญญาเพื่อให้แลกเปลี่ยนกับค่าธรรมเนียม โดยให้คำนึงถึงความจำเป็นที่จะต้องตัดค่าใช้จ่ายสำหรับการนำระบบเทคโนโลยีทางด้านโลจิสติกส์ซึ่งมีการเติบโตและมีความซับซ้อนมาใช้ เพื่อเป็นการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน

  14. ความหมายของผู้ให้บริการภายนอก (Outsources) ธนิต โสรัตน์ (2005): Outsources คือผู้ให้บริการภายนอก เป็นกลุ่มของบุคคล หรือผู้ประกอบการภายนอกซึ่งมีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านในงานหนึ่งงานใด ซึ่งมีความสามารถซึ่งจะเข้ารับบทบาทการทำงานนั้นๆ ได้ดีกว่าการที่องค์กรจะดำเนินการด้วยตนเอง ภายใต้สัญญาเพื่อแลกเปลี่ยนกับค่าธรรมเนียมหรือผลประโยชน์ที่จะได้รับเป็นการตอบแทน โดยผลลัพธ์ที่ได้จากการว่าจ้างผู้ให้บริการภายนอก ควรจะดีกว่าองค์กรจะดำเนินการเอง ทั้งในด้านประสิทธิภาพและประสิทธิผล หรืออีกนัยหนึ่งก็คือ การให้ผู้ประกอบการที่ให้บริการภายนอกรับงานที่มีความสำคัญน้อยกว่าไปทำ โดยองค์กรเลือกที่จะดำเนินงานเฉพาะงานที่มีความสำคัญและคุ้มค่ากว่า การเลือกใช้ผู้บริการภายนอก (Outsourcing Service) เป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการจัดการความสมดุลของต้นทุน เวลา กับเงินที่ต้องจ่าย

  15. ความหมายของผู้ให้บริการภายนอก (Outsources) Lieb et al (1993) ผู้ให้บริการด้านโลจิสติกส์ หมายถึง ผู้ให้บริการภายนอกบริษัทที่นำเสนอบริการบางกิจกรรม หรือทุกกิจกรรมของโลจิสติกส์แก่ผู้รับบริการ JJ. Vogt, WJ Pienaar de Wie (2007) Each of the service provider is chosen to fulfill am integral function in the chain , service providers may come from department within the enterprise or may be external – or a combination of these. ความหมายนี้ ทำให้ขยายคำจำกัดความถึง ผู้ให้บริการ “โลจิสติกส์อาจเป็นหน่วยงานในบริษัทหรือกิจการภายนอกหรือการผสมผสานร่วมกันระหว่างหน่วยงานในองค์กรกับผู้ให้บริการภายนอก”

  16. What is Outsourcing? Outsourcing คือ การจัดจ้างผู้เชี่ยวชาญในเรื่องหนึ่งๆ ให้เข้ามา จัดการหน่วยธุรกิจหลักซึ่งไม่ใช่ธุรกิจหลัก โดยถือเป็นวิธีการใน การขยาย จำนวนพนักงานโดยไม่ต้องเพิ่มจำนวนพนักงาน เพื่อลด ต้นทุนและเพิ่มคุณภาพหรือเพื่อเพิ่มผลิตภาพ Offshoring คือ การจัดจ้างผู้เชี่ยวชาญในต่างประเทศเพื่อให้เข้า ดำเนินการเกี่ยวกับกระบวนการทางธุรกิจ Linda R Dominquez

  17. เหตุผลซึ่งธุรกิจต้องใช้ผู้ให้บริการภายนอกเหตุผลซึ่งธุรกิจต้องใช้ผู้ให้บริการภายนอก • เป็นกลไกในการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน • เพิ่มประสิทธิภาพในการลดต้นทุนรวม • หลักการสำคัญของการจัดการโลจิสติกส์จะมุ่งเน้นการแบ่งแยกงานไปตามความถนัด (Division of Labour) • องค์กรธุรกิจจะมอบหมายงานที่ตนเองมีความเชี่ยวชาญน้อยกว่า หรือมีต้นทุนในการดำเนินการสูงกว่าไปให้กับผู้ให้บริการภายนอกในงานโลจิสติกส์ (Outsourcing Logistics Service) • องค์กรจะเลือกดำเนินกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมหลัก (Core Business) เช่น ด้านการตลาด การผลิต ด้านที่เกี่ยวข้องกับเทคนิคการวิจัยและพัฒนา การควบคุมคุณภาพ

  18. เหตุผลซึ่งธุรกิจต้องใช้ผู้ให้บริการภายนอกเหตุผลซึ่งธุรกิจต้องใช้ผู้ให้บริการภายนอก • มอบหมายงานที่มีความสำคัญน้อยกว่าไปให้กับผู้ให้บริการภายนอก ซึ่งมีต้นทุนในการดำเนินงานที่ต่ำกว่า และมีประสิทธิภาพดีกว่าที่บริษัทฯจะเป็นผู้ดำเนินการด้วยตนเอง • การมอบหมายงานนี้ ยังมีจุดประสงค์หลักในการที่จะเป็นการกระจายต้นทุน (Cost Sharing) และการกระจายความเสี่ยง (Risk Management) • งานในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการกระจายสินค้าจำเป็นที่จะต้องอาศัยเครือข่าย ยิ่งระบบการค้ามีความซับซ้อนและเป็นการค้าระหว่างประเทศ • การเลือกใช้องค์กรภายนอกจะเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพของการกระจายสินค้า โดยอาศัยเครือข่ายหรือ Network ของผู้ให้บริการ ที่เรียกว่า Logistics Service Provider : LSP TANIT SORAT

  19. ลักษณะการของ Outsourcing • IT • Finance • Legal Consultant • Production • Training • HR

  20. ลักษณะของผู้ให้บริการด้านโลจิสติกส์ของไทย สามารถแบ่ง ได้ดังต่อไปนี้ • Transport Service • Place Utility • Electronic Utility • Form & Facilitation • Consultance Service • Logistics Equipment

  21. Role of Logistics Outsources บทบาทของผู้ให้บริการโลจิสติกส์ ความสำเร็จของ Supply Chain จะมุ่งไปสู่การลดต้นทุนและความรวดเร็ว เพิ่มศักยภาพการแข่งขัน ลดต้นทุนคงที่ (Fixed Cost) โดยมอบหมายงานบางส่วนไปให้ธุรกิจภายนอกรับไปทำ โดยหลีกเลี่ยงการลงทุนในด้านบุคลากรและ Fixed Asset ซึ่งเกี่ยวข้องกับงานโลจิสติกส์ โดยทำให้ค่าใช้จ่ายด้านโลจิสติกส์เป็นค่าใช้จ่ายผันแปร (Variable Cost) ให้มากที่สุด เพื่อที่จะขจัดแรงงานส่วนเกิน (Head Count Reduction)

  22. เคล็ดลับที่สำคัญในการใช้ผู้ให้บริการภายนอกเคล็ดลับที่สำคัญในการใช้ผู้ให้บริการภายนอก • ต้องมีปฏิสัมพันธ์แบบหุ้นส่วนธุรกิจ (Business Partnership) • ต่างจะมีส่วนร่วมในการกระจายความเสี่ยงที่เกิดจากความแปรผันของต้นทุน • มีส่วนรับจากผลกำไรที่จะได้จากการทำธุรกิจร่วมกัน (Business Reward)

  23. The Reason to Use Logistics Service Providerเหตุผลที่ธุรกิจควรตัดสินใจใช้ผู้ให้บริการโลจิสติกส์ • Market Demand Forecastingทำให้รู้ความต้องการของตลาดได้ล่วงหน้า • Econmies of Scopeการร่วมมือทางเครือข่าย ทำให้การให้บริการของ Outsources Service ซึ่งมีขอบเขตที่กว้างไกล • Cost Utilizeเป็นการลดต้นทุนรวมของธุรกิจ • Transport Efficiencyเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพของการขนส่ง • Working Capital Flowทำให้มีสภาพคล่องทางการเงินที่ดีกว่า

  24. The Reason to Use Logistics Service ProviderMarket Demand Forecasting เหตุผลที่ธุรกิจควรตัดสินใจใช้ผู้ให้บริการโลจิสติกส์ • Spacialist Valueการใช้ให้บริการภายนอกจะทำให้ได้ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะงานในการให้บริการแก่องค์กร และเป็นผู้เชี่ยวชาญในระดับ Best -In- Class และให้การบริการและทำงานได้ดีกว่า • Services Flexibility การให้บริการมีความยืดหยุ่นเปลี่ยนแปลงในด้านการให้บริการได้ดีกว่า • Time Interestการใช้ผู้ให้บริการภายนอกไปทำงานที่สำคัญน้อยกว่า • Business Synergies ส่งผลต่อการผนึกกำลังทางธุรกิจ • Multiple Needs Responsivenessการใช้ผู้ให้บริการโลจิสติกส์ จะส่งผลต่อการสนองตอบต่อความต้องการที่หลากหลายของลูกค้าได้ดีกว่าที่องค์กรหรือบริษัทจะดำเนินการเองได้

  25. Outsources Managementการบริหารจัดการผู้ให้บริการภายนอก การค้าในปัจจุบันเป็นการแข่งขันในระดับโลก แนวโน้มของความซับซ้อนต่อการส่งมอบสินค้าภายใต้ภูมิศาสตร์ขนส่ง ซึ่งมีระยะทางที่ยาวขึ้น โดยมีต้นทุนที่ต่ำสุด ทำให้บทบาทของผู้ให้บริการโลจิสติกส์จะมีความซับซ้อนสามารถให้บริการในการสนองตอบต่อพื้นที่ซึ่งหลากหลายได้อย่างมีประสิทธิผล

  26. องค์ประกอบของการจัดการ Outsourcing • Place Utility อรรถประโยชน์ด้านสถานที่ • Time Utility อรรถประโยชน์ด้านเวลา • Condition Utility คืออรรถประโยชน์จากการส่งมอบสินค้าตรงตามเงื่อนไข T

  27. Liability • Liability การให้บริการในงานโลจิสติกส์เป็นเรื่องของข้อตกลงที่เป็นสัญญาหรือข้อตกลงทางพฤตินัย ซึ่งผู้รับขนส่งมีหน้าที่รับผิดชอบในฐานะเป็นตัวการ ที่เรียกว่า ผู้รับจ้างในการส่งมอบสินค้านั้นๆ ให้กับผู้รับตามเวลาและสถานที่ซึ่งได้มีการตกลงกัน รวมไปถึงการมีหน้าที่ในการชดใช้ค่าเสียหาย หรือสูญหายในระหว่างที่ตนเองหรือบริวารหรือผู้ให้บริการภายนอก (Outsources) ซึ่งตนเองได้ว่าจ้างเป็นผู้ขนส่งโดยความรับผิดชอบนี้ยังรวมไปถึงบุคคลภายนอก ซึ่งเป็นบุคคลที่สาม

  28. ลักษณะของผู้ให้บริการในงานโลจิสติกส์ลักษณะของผู้ให้บริการในงานโลจิสติกส์ • In house logistics service คือการขนส่งสินค้าโดยหน่วยงานภายในองค์กร เป็นผู้ดำเนินการเอง • Outsourcing logistics service เป็นการจัดจ้างกลุ่มบุคคลหรือบุคคลหรือธุรกิจภายนอกให้เป็นผู้บริการด้านการขนส่งสินค้า ในฐานะเป็นมืออาชีพด้านการขนส่ง (Professional logistics Service Provider)

  29. ประเภทของผู้ให้บริการโลจิสติกส์ประเภทของผู้ให้บริการโลจิสติกส์ • Freight Asset carrierผู้ให้บริการขนส่ง ซึ่งมีพาหนะเป็นของตนเอง • Non Asset carrierผู้ให้บริการขนส่งซึ่งไม่มีพาหนะเป็นของตนเองจะทำหน้าที่เป็นผู้ให้บริการในการจัดการขนส่ง ในฐานะเป็นตัวแทนรับจัดการขนส่งที่เป็น Transport Integrated Services • MTO : Multimodal Transport Operatorsเป็นผู้ให้บริการขนส่ง ซึ่งมีลักษณะผสมผสาน Asset Carrier และ Non Asset Carrier • International Freight Forwardersเป็นผู้ให้บริการขนส่ง ซึ่งจะมีลักษณะการขนส่งระหว่างประเทศจัดเป็นผู้ให้บริการประเภท Non Asset • Freight Brokerageผู้ให้บริการขนส่งในฐานะเป็นตัวกลางระหว่าง ผู้ส่งสินค้าและผู้ให้บริการ ประเภทที่มี Asset Carrier

  30. Liability of Outsources Providerความรับผิดชอบของผู้ให้บริการภายนอก • Damage and lostLiabilityเป็นการรับผิดชอบ การชดใช้ต่อความเสียหายทั้งบางส่วนหรือทั้งหมด ซึ่งเกิดจากความเสียหายซึ่งเกิดขึ้นภายใต้ความรับผิดชอบของ Freight Logistics Service Provider • Value Responsibilityคือความรับผิดชอบของผู้ให้บริการขนส่งต่อความเสียหายที่อาจเกิดจากพนักงานขับรถ หรือนายเรือ , กัปตัน , ไต้ก๋งเรือหรือผู้ควบคุมพาหนะขนส่ง , อุปกรณ์เคลื่อนย้ายสินค้าทั้งที่เคลื่อนที่ได้และเคลื่อนที่ไม่ได้ ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายต่อสินค้าและความเสียหายต่างๆที่เกิดขึ้น • Scope of Liabilityขอบข่ายความรับผิดชอบของผู้ประกอบการขนส่ง หมายถึงความเสียหายซึ่งก่อให้เกิดความเสียหาย กับตัวสินค้าและส่วนประกอบที่ติดมากับตัวสินค้า รวมถึงความเสียหายกับลูกค้า หรือกับบุคคลภายนอก หรือกับสาธารณะ

  31. Liability of Outsources Providerความรับผิดชอบของผู้ให้บริการภายนอก • Intermode liability ความรับผิดชอบที่ผู้ให้บริการขนส่งซึ่งอาจมีการว่าจ้าง Sub contact มาเป็นผู้ให้บริการรับช่วงหรือลักษณะการขนส่งสินค้า แบบต่อเนื่องหลายรูปแบบ (Multi Model Transport Operator) • Just in time liabilityเป็นข้อตกลงในการที่ผู้ให้บริการขนส่งจะต้องชดเชย หรือชดใช้ความเสียหาย อันเกิดจากการไม่สามารถส่งสินค้าถึงสถานที่และตามเงื่อนเวลา ซึ่งได้มีการตกลงกัน

  32. หลักการที่สำคัญในการบริหารจัดการผู้ให้บริการภายนอก • Cost and Outcome Efficiencyการควบคุมประสิทธิภาพทั้งในด้านต้นทุนและผลลัพธ์ของงาน จึงจะต้องจัดให้มีระบบการตรวจสอบ ผลการดำเนินการอย่างเป็นระบบ • Key Performance Indicatorโดยให้มีเครื่องมือชี้วัดทั้งในด้านที่เป็นพารามิเตอร์ • Just in Time Monitorโดยการให้นำระบบการติดตามงานทางอิเล็กทรอนิกส์ ที่เรียกว่า Electronic Tracking • ERP : Enterprise Resource Planningการนำระบบโปรแกรมประยุกต์ต่างๆ นำมาใช้เชื่อมโยงบูรณาการข้อมูลข่าวสารกับผู้ให้บริการภายนอก • Parameter Performance Evaluateการประเมินผลการทำงานของผู้ให้บริการอย่างต่อเนื่อง • Chain Collabolateการร่วมมือและประสานงานในฐานะเป็นหุ้นส่วนธุรกิจกับผู้ให้บริการภายนอกเป็นหัวใจของการบริหาร Outsources Management

  33. การประสานงานและควบคุมผู้ให้บริการโลจิสติกส์การประสานงานและควบคุมผู้ให้บริการโลจิสติกส์ • ต้องมีระบบการจัดการที่เกี่ยวข้องกับการประสานงานและควบคุมผู้ให้บริการให้สามารถขับเคลื่อนปฏิสัมพันธ์ทั้งในระดับภายในองค์กรของผู้ให้บริการ (Service Provider) • การจัดการ ติดตาม และควบคุม เพื่อให้ผู้ให้บริการภายนอกสามารถเชื่อมโยงข้อมูลข่าวสาร และทำงานภายใต้ความสัมพันธ์ที่ดีต่อผู้ให้บริการของบริษัทคู่ค้า หรือลูกค้าในโซ่อุปทาน • การจัดการความสัมพันธ์ตรงรอยต่อของกิจกรรมการให้บริการระหว่างกันของผู้ให้บริการภายนอก จะเป็นเรื่องที่มีความยุ่งยากและซับซ้อนเพราะจะเกี่ยวข้องกับต้นทุนและความรับผิดชอบ • เป็นหน้าที่ขององค์กรธุรกิจจะต้องจัดให้มีหน่วยงานสำหรับรับผิดชอบในการบริหารความสัมพันธ์ของผู้ให้บริการโลจิสติกส์ เพราะในช่องว่างในรอยต่อของการให้บริการซึ่งเป็นสุญญากาศจะเกี่ยวข้องกับความรับผิดชอบของผู้รับสินค้าและผู้ส่งสินค้า

  34. ปัจจัยแห่งการประสบความสำเร็จในการลดต้นทุนโลจิสติกส์ด้วยการใช้บริการจากผู้ให้บริการที่เป็น Logistics Services • อยู่ที่ความสามารถของบริษัท ในการบริหารคนในองค์กรของตนเองให้เข้าใจถึงความร่วมมือในการทำงานร่วมกับผู้ให้บริการโลจิสติกส์ในฐานะเป็นหุ้นส่วนธุรกิจไม่ใช่คู่แข่ง • ต้องมีกระบวนการในการจัดทำยุทธศาสตร์ การสร้างโซ่แห่งคุณค่าด้วยการนำผู้ให้บริการภายนอกเข้ามาอยู่ในกระบวนการจัดการของบริษัทในฐานะที่เป็นหุ้นส่วนทางธุกิจไม่ใช่ในฐานะกิจการรับจ้าง • ต้องเริ่มที่การปรับเปลี่ยนทัศนคติทั้งของพนักงาน และการปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร (Organization Culture) ด้วยการใช้ผู้ให้บริการภายนอกให้เกิดประสิทธิภาพได้อย่างจริงจัง จะต้องเริ่มด้วยการปรับทัศนะคติของคนในองค์กรให้ได้เสียก่อน โดยเฉพาะในประเด็น “ผู้ให้บริการภายนอกควรได้รับการปฏิบัติในฐานะเป็นเพื่อนร่วมงานและพันธมิตรทางธุรกิจ

  35. Outsources in Supply Chain Manufacturer B Buy Sale Logistics Activities Supplier (Seller) A Customer (Buyer) C Sale Buy JIT Delivery JIT Delivery Outsourcing

  36. สัดส่วนของการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศในแต่ละประเภทของการขนส่งสัดส่วนของการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศในแต่ละประเภทของการขนส่ง

  37. การประหยัดต้นทุนจากการใช้บริการของผู้ให้บริการโลจิสติกส์การประหยัดต้นทุนจากการใช้บริการของผู้ให้บริการโลจิสติกส์ • Cost Utilizeการกระจายต้นทุน • Economies of scopeการประหยัดจากการขยายขอบเขตงาน • Expertise Services Valueการประหยัดจากความ สามารถและความเชี่ยวชาญเฉพาะทางของผู้ให้บริการภายนอก • Logistics Networkการประหยัดจากการใช้เครือข่ายร่วมกัน

  38. Economy of scope • การใช้บริการจากผู้ให้บริการภายนอก จะสามารถลดต้นทุนโลจิสติกส์ได้ถึงร้อยละ 15 เหตุผลสำคัญก็เกิดจากการกระจายต้นทุน (Cost Sharing) • ก่อให้เกิดการขยายปริมาณการให้บริการ และเป็นการเพิ่มความสามารถในการให้บริการ โลจิสติกส์ในพื้นที่ไม่สามารถเข้าไปดำเนินการได้เองอย่างมีประสิทธิภาพ

  39. สัดส่วนค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้นของการจ้างผู้ให้บริการภายนอกของประเทศสหรัฐอเมริกาสัดส่วนค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้นของการจ้างผู้ให้บริการภายนอกของประเทศสหรัฐอเมริกา

  40. How to selection Outsourcing Logistics Service การเลือกใช้ผู้ให้บริการโลจิสติกส์ • การจะพิจารณาคุณสมบัติของผู้ให้บริการให้เหมาะสมกับแต่ละธุรกิจ ไม่จำเป็นจะต้องมีรูปแบบที่เหมือนกันหรือเป็นกฎเกณฑ์ตายตัว แต่จะต้องมีการปรับเปลี่ยนใช้ให้เหมาะสมกับลักษณะของโครงสร้างธุรกิจ วัฒนธรรมขององค์กร รวมทั้ง ทักษะบุคลากร และลักษณะของธุรกิจ • สำหรับธุรกิจซึ่งไม่เคยนำระบบการจัดการที่มีผู้ให้บริการภายนอกเข้ามาใช้ในกิจการก็ควรจะต้องเริ่มด้วยการปรับปรุงระบบการจัดการภายใน โดยการแบ่งแยก ซอยหน่วยงาน ทำผังการจัดการที่ชัดเจน (Organization Chart) • การทำการเข้าใจกับพนักงานของตนเอง ที่สำคัญจะต้องมีการเรียนรู้ทักษะการทำงานร่วมกับผู้ให้บริการภายนอก ในฐานะเป็นผู้ร่วมงานไม่ใช่เป็นคู่แข่งหรือศัตรู • มีการจัดลำดับการดำเนินการก่อนและหลังในการเตรียมองค์กรไปสู่การจัดการที่มี Logistics Outsourcing Service โดยพื้นฐานแล้วส่วนใหญ่จะได้รับแรงกดดันและต่อต้านจากพนักงาน ซึ่งมีทั้งแบบเปิดเผยและแบบคลื่นใต้น้ำ

  41. How to selection Outsourcing Logistics Service การเลือกใช้ผู้ให้บริการโลจิสติกส์ • ผู้บริหารต้องมีความสามารถในการแยกแยะว่าเป็นปัญหามาจากการไม่เข้าใจหรือเป็นผลประโยชน์ส่วนตัวแอบแฝงหรือคอรัปชั่นที่เคยได้จากงานที่ทำ • มีการหารือเกี่ยวกับเป้าหมายของการนำระบบผู้ให้บริการภายนอกมาใช้ในองค์กร ซึ่งควรจะเริ่มจาก TOP Management หรือระดับหุ้นส่วนให้เข้าใจตรงกัน โดยจะต้องมีการกำหนดเป็นนโยบายของบริษัทฯ (Company Policy) • ความสำเร็จของการใช้ผู้ให้บริการภายนอกมาใช้ในองค์กรจะต้องมีการปรับเปลี่ยน Job Description กันใหม่ โดยจะต้องมีการตกลงกันให้มีความขัดแย้งน้อยที่สุด โดยเฉพาะในการที่จะคัดเลือกหน่วยงานใดหรือกิจกรรมใดที่ควรจะเก็บไว้ในองค์กร (Keep in house Logistics) และกิจการใดที่จะมีการมอบหมายให้ผู้ให้บริการโลจิสติกส์ภายนอก

  42. รูปแบบเก่า รูปแบบปัจจุบัน รูปแบบอนาคต Management Vision Push Idea Pull Idea Gain Win/Win Company Policy Production Center Customers Center Chain Collaborate Zero Stock Management Mission High Inventory Low Inventory High Own Transport Own Warehouse Own People Low High Outsouces Service Action ทิศทางการใช้บริการของผู้ให้บริการภายนอก (Outsourcing Service)

  43. Outsources Service Classifyประเภทของผู้ให้บริการโลจิสติกส์ • Asset Logistics Service Providerเป็นผู้ประกอบการที่มีทรัพย์สินที่เป็นสังหาริมทรัพย์และอสังหาริมทรัพย์ที่เป็นคลังสินค้า , อุปกรณ์ยก-ขน พาหนะสำหรับขนส่งของตนเอง • Non Asset Logistics Service Providerผู้ประกอบการที่ไม่มีทรัพย์สินเป็นของตนเอง เป็นผู้ให้บริการในการเช่าช่วง คลังสินค้าหรือศูนย์กระจายสินค้า หรือเป็นผู้รับจัดการขนส่งประเภทที่เรียกว่า Freight Provider • Fourth Party Logistics (4PL)เป็นผู้ให้บริการประเภทไม่มีทรัพย์สิน แต่คุณลักษณะสำคัญแล้วผู้ประกอบการประเภท จะใช้วิธีในการเช่าช่วงทรัพย์สิน มาบริหารจัดการเองและเสนอบริการให้กับผู้ผลิตในฐานะเป็นผู้ให้บริการหลัก

  44. Outsources Service Classifyประเภทของผู้ให้บริการโลจิสติกส์ • Integrated Logistics Service Providerเป็นลักษณะการให้บริการแบบเบ็ดเสร็จในงานที่เกี่ยวกับการให้บริการโลจิสติกส์ โดยมีการผสมผสานทั้งแบบ Asset และ Non Asset มาเป็นผู้ให้บริการ เช่น ในส่วนที่เป็นคลังสินค้า อาจเป็นของตนเอง แต่ในส่วนขนส่งก็จะใช้การเช่าช่วงจากผู้ประกอบการรถบรรทุก ในบางตำรากล่าวว่าผู้ให้บริการประเภท Fourth Party Logistics Service Provider (4PL) • MTO : Multimodal Transport Operationเป็นผู้ให้บริการการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ ซึ่งมีรูปแบบการใช้พาหนะตั้งแต่ 2 ประเภทขึ้นไป โดยทำหน้าที่ให้บริการแบบ Door to Door Service ซึ่งอาจต้องขนส่งด้วยพาหนะมากกว่า 1 ประเภท

  45. How to selective outsources serviceกระบวนการในการคัดสรรเลือกผู้ให้บริการภายนอก • Company Profile • Business Policy • Business Performance • Reputation and law Compliance • Network and Status • Core Business • Competition Advantage • Management Team • Efficiency of Customers Service • Equipment & Technology

  46. Outsourcing Contract Management การทำสัญญาข้อตกลงการใช้บริการจากผู้ให้บริการภายนอก • Contract หรือสัญญาข้อตกลงที่ดี จะต้องตั้งมั่นในลักษณะที่เป็นพันธมิตร หรือ Business Partner การเริ่มต้นธุรกิจด้วยข้อตกลงที่ไม่เป็นธรรม เอาประโยชน์แต่ฝ่ายเดียว เป็นการเริ่มต้นธุรกิจที่ไม่มีมูลค่าเพิ่มทางโลจิสติกส์ • ข้อตกลงหรือสัญญาระยะยาวก็อาจส่งผลต่อความไม่ยืดหยุ่นของการปรับเปลี่ยนผู้ให้บริการโลจิสติกส์ที่ไม่อาจสนองตอบต่อความต้องการธุรกิจ ขณะเดียวกันข้อตกลงหรือ Contract ที่มีระยะสั้นเกินไป ก่อให้เกิดความไม่เสถียรหรือความไม่มั่นคงต่อทั้งการลงทุนและการให้บริการ

  47. Services Monitor • ความสามารถในการปฏิบัติตามแผนงานซึ่งกำหนดไว้โดยวัดจาก Permanance Index • ประสิทธิภาพของการจัดส่งสินค้า โดยวัดจาก Just in Time Index • ความร่วมมือและการสนองตอบต่อการให้บริการที่เป็น Responsiveness Index • การแก้ปัญหาร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ โดยวัดจากความพึงพอใจต่อการใช้บริการ ECR Index • การชดใช้ค่าเสียหายจากความผิดพลาดในงานโดยวัดจาก Claim Index • มีการพัฒนาองค์กร , บุคลากร , เทคโนโลยีสารสนเทศให้สามารถรองรับกับการเติบโตขององค์กรในอนาคต โดยวัดจาก Capacity Building Index เช่น การฝึกอบรมและวิธีการพัฒนาองค์กรของผู้ให้บริการ

  48. องค์กรต้องเตรียมให้ความรู้ สร้างความเข้าใจ และทำการเปรียบเทียบผลดีและผลเสียให้ชัดเจน

  49. Outsourcing

  50. Outsourcing

More Related