1 / 32

ความสำคัญของภาคอุตสาหกรรม ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจไทย

ความสำคัญของภาคอุตสาหกรรม ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจไทย. อุตสาหกรรม หมายถึง กิจกรรมที่ใช้ทุน และแรงงานเพื่อผลิตสิ่งของหรือจัด ให้มีบริการ เหตุผลที่สนับสนุนการพัฒนา อุตสาหกรรม. 1. สร้างรายได้ การจ้างงาน การใช้ ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ 2. เสถียรภาพทางเศรษฐกิจ 3. ดุลการค้า

cleta
Download Presentation

ความสำคัญของภาคอุตสาหกรรม ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจไทย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ความสำคัญของภาคอุตสาหกรรมความสำคัญของภาคอุตสาหกรรม ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจไทย • อุตสาหกรรม หมายถึง กิจกรรมที่ใช้ทุน และแรงงานเพื่อผลิตสิ่งของหรือจัด ให้มีบริการ • เหตุผลที่สนับสนุนการพัฒนา อุตสาหกรรม

  2. 1. สร้างรายได้ การจ้างงาน การใช้ ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ 2. เสถียรภาพทางเศรษฐกิจ 3. ดุลการค้า 4. ผลการเชื่อมโยง 5. การพัฒนาเทคโนโลยีและกำลังคน 6. การพึ่งตนเองทางเศรษฐกิจ

  3. ความสำคัญของภาคอุตสาหกรรมความสำคัญของภาคอุตสาหกรรม ในเศรษฐกิจไทย 1. สัดส่วนของการผลิต ของภาค อุตสาหกรรม หรือมูลค่าเพิ่มทั้งหมด 2. สัดส่วนการจ้างงานภาคอุตสาหกรรม ในการจ้างงานทั้งหมดของประเทศ

  4. ความสำคัญของภาคอุตสาหกรรมความสำคัญของภาคอุตสาหกรรม ในเศรษฐกิจไทย 3. สัดส่วนของการส่งออกสินค้า อุตสาหกรรม 4. ตัวชี้วัดอื่นๆ

  5. นโยบายอุสาหกรรมไทย • นโยบายอุสาหกรรมทดแทน การนำเข้า • นโยบายส่งเสริมการส่งออก

  6. แนวคิดและทฤษฎีการค้าระหว่างประเทศแนวคิดและทฤษฎีการค้าระหว่างประเทศ • การค้าระหว่างประเทศ : การได้เปรียบ โดยสมบูรณ์ • การค้าระหว่างประเทศ :การได้เปรียบ โดยเปรียบเทียบ • ทฤษฎีของเฮคเชอร์ โอห์ลิน

  7. นโยบายการค้าระหว่างประเทศนโยบายการค้าระหว่างประเทศ ต่อการพัฒนาอุตสาหกรรม • การจำกัดปริมาณสินค้านำเข้า • การให้เงินอุดหนุนเพื่อการส่งออก

  8. สภาพแวดล้อมในทางธุรกิจสภาพแวดล้อมในทางธุรกิจ • เหตุการณ์ไม่คาดคิด • แนวโน้ม • สภาวการณ์

  9. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อโครงสร้างอุตสาหกรรมปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อโครงสร้างอุตสาหกรรม • คู่แข่งขันรายใหม่ • ผู้ผลิตในอุตสาหกรรมเดียวกัน • ผู้ซื้อ • ผู้ขายวัตถุดิบ • สินค้าหรือบริการทดแทน

  10. ปัจจัยภายในที่มีผลต่อการพัฒนาปัจจัยภายในที่มีผลต่อการพัฒนา อุตสาหกรรม

  11. บทบาทของปัจจัยการผลิตที่ใช้ในการผลิตบทบาทของปัจจัยการผลิตที่ใช้ในการผลิต ภาคอุตสาหกรรม • แรงงาน • ทุน และเทคโนโลยี • ผู้ประกอบการ • วัตถุดิบ/พลังงาน

  12. บทบาทของรัฐที่มีผลต่อการพัฒนาบทบาทของรัฐที่มีผลต่อการพัฒนา อุตสาหกรรม • นโยบายและมาตรการของรัฐ • ตลาดเงินและตลาดทุน • กฎหมายที่มีต่อการพัฒนา อุตสาหกรรม • สถาบันของรัฐ กับการพัฒนา อุตสาหกรรม

  13. นโยบายพัฒนาอุตสาหกรรมนโยบายพัฒนาอุตสาหกรรม • นโยบายพัฒนาอุตสาหกรรมดั้งเดิม (ทดแทนการนำเข้า) • นโยบายพัฒนาอุสาหกรรมแนวใหม่ (ส่งออก) • นโยบายพัฒนาอุตสาหกรรม ในยุคโลกาภิวัฒน์

  14. นโยบายพัฒนาอุตสาหกรรมนโยบายพัฒนาอุตสาหกรรม • นโยบายพัฒนาอุตสาหกรรมในยุค โลกาภิวัฒน์ • ไม่เลือกปฏิบัติระหว่างผู้ลงทุน ในประเทศกับต่างประเทศ • ช่วยอุตสาหกรรมภายในให้แข่งขัน โดยเน้นความได้เปรียบ • ด้านประสิทธิภาพและต้นทุน

  15. บทบาทของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกับบทบาทของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกับ การเพิ่มขีดความสามารถของอุตสาหกรรม • วิทยาศาสตร์ = Know-Why • เทคโนโลยี = Know-How

  16. การจัดอันดับความสามารถในการแข่งขันการจัดอันดับความสามารถในการแข่งขัน ด้านวิทยาศาสตร์/เทคโนโลยี • จัดอันดับโดย IMD • จัดอันดับโดย WEF

  17. แหล่งที่มาของเทคโนโลยี แหล่งที่มาของเทคโนโลยี ภาคอุตสาหกรรม • ปัญหาในการพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีของไทย • ยุทธศาสตร์การพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีของไทย

  18. ปัญหาและแนวทางการพัฒนาปัญหาและแนวทางการพัฒนา อุตสาหกรรมในประเทศไทย • สถานการณ์ปัจจุบันของภาคอุตสาหกรรม ในประเทศไทยในภาพรวม • แนวโน้มการปรับโครงสร้างภาค อุตสาหกรรมของไทย

  19. ปัญหาสำคัญของอุตสาหกรรมไทยปัญหาสำคัญของอุตสาหกรรมไทย • ปัญหาด้านโครงสร้างที่สำคัญของ ภาคอุตสาหกรรมไทย • ปัญหาเฉพาะด้านในอุตสาหกรรม หลักของไทย

  20. นโยบายภาครัฐในการแก้ปัญหานโยบายภาครัฐในการแก้ปัญหา ภาคอุตสาหกรรมไทย • ระบบบริหารจัดการ • ระบบความร่วมมือระหว่างภาครัฐ กับภาคเอกชน • การพัฒนาปัจจัยที่จะสนับสนุน การปรับโครงสร้างระบบเศรษฐกิจ

  21. นโยบายภาครัฐในการแก้ปัญหานโยบายภาครัฐในการแก้ปัญหา ภาคอุตสาหกรรมไทย • การเพิ่มขีดความสามารถ ในการแข่งขัน • การลดผลกระทบจากปัจจัย ภายนอก

  22. แนวทางการพัฒนาอุตสาหกรรมไทยแนวทางการพัฒนาอุตสาหกรรมไทย ในอนาคต • การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ของภาคอุตสาหกรรมไทย • ประเด็นท้าทายในอนาคตสำหรับ ภาคอุตสาหกรรมไทย

  23. แนวทางการพัฒนาอุตสาหกรรมไทยแนวทางการพัฒนาอุตสาหกรรมไทย ในอนาคต • ประเด็นท้าทายในอนาคตสำหรับ ภาคอุตสาหกรรมไทย • กระแสการเปิดเสรีในยุคโลกาภิวัตน์ • การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีอย่างรวดเร็ว • แนวโน้มอุปทานมากกว่าอุปสงค์สินค้า

  24. แนวทางการพัฒนาอุตสาหกรรมไทยแนวทางการพัฒนาอุตสาหกรรมไทย ในอนาคต • ประเด็นท้าทายในอนาคตสำหรับ ภาคอุตสาหกรรมไทย • ความพร้อมของเศรษฐกิจไทย • ความร่วมมือระหว่างภาครัฐ กับภาคเอกชน

  25. กรอบการวิเคราะห์ขีดความสามารถกรอบการวิเคราะห์ขีดความสามารถ ในการแข่งขัน • ทฤษฎีความได้เปรียบเชิงเส้นแข่งขัน (แบบจำลอง Diamond) • การวิเคราะห์ความสามารถ ในการแข่งขันภายในประเทศ (Five Forces Model)

  26. กรอบการวิเคราะห์ขีดความสามารถกรอบการวิเคราะห์ขีดความสามารถ ในการแข่งขัน • การประเมินขีดความสามารถ ในตลาดโลก (SWOT Analysis)

  27. ทฤษฎีความได้เปรียบเชิงแข่งขันทฤษฎีความได้เปรียบเชิงแข่งขัน (The Theory of Competitive Advantage) • แบบจำลอง Diamond 1. ปัจจัยภายใน 4 ประการ 1.1 ปัจจัยการผลิต 1.2 อุปสงค์ 1.3 อุตสาหกรรมที่สนับสนุนและ เกี่ยวเนื่อง

  28. ทฤษฎีความได้เปรียบเชิงแข่งขันทฤษฎีความได้เปรียบเชิงแข่งขัน (The Theory of Competitive Advantage) • แบบจำลอง Diamond 1. ปัจจัยภายใน 4 ประการ 1.4 กลยุทธ์ โครงสร้าง สภาพ การแข่งขันของผู้ผลิต

  29. ทฤษฎีความได้เปรียบเชิงแข่งขันทฤษฎีความได้เปรียบเชิงแข่งขัน (The Theory of Competitive Advantage) • แบบจำลอง Diamond 2. ปัจจัยภายนอก 2.1 รัฐบาล 2.2 เหตุสุดวิสัย หรือโอกาส

  30. การประเมินขีดความสามารถการประเมินขีดความสามารถ ในการแข่งขันโดยวิธี SWOT Analysis • จุดแข็ง • จุดอ่อน • โอกาส • อุปสรรค

  31. การประเมินอัตราการแข่งขันภายในการประเมินอัตราการแข่งขันภายใน ประเทศโดยวิธี Five Foras Model 1. การเข้ามาในตลาดของ ผู้ประกอบการรายใหม่ 2. อำนาจการต่อรองของผู้ขาย ปัจจัยการผลิต 3. อำนาจต่อรองของผู้ซื้อ

  32. การประเมินอัตราการแข่งขันภายในการประเมินอัตราการแข่งขันภายใน ประเทศโดยวิธี Five Foras Model 4. ผลิตภัณฑ์ที่ทดแทนกันได้ 5. ความเข้มข้นของการแข่งขัน ระหว่างผู้แข็งขันในอุตสาหกรรม

More Related