1 / 49

ระบบตะกร้าและระบบชำระเงิน

ระบบตะกร้าและระบบชำระเงิน. E-commerce. รายการเนื้อหา. องค์ประกอบ และลักษณะการทำงานของระบบตะกร้า รูปแบบระบบตระกร้าที่เหมาะสม วิธีการชำระเงินและการยื่นเรื่องเป็นร้านค้ารับบัตรเครดิต ข้อควรระวังในการชำระเงิน. E-commerce. ในระบบ e-commerce นั้นยังประกอบด้วย ระบบตะกร้า (Shopping Cart)

clem
Download Presentation

ระบบตะกร้าและระบบชำระเงิน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ระบบตะกร้าและระบบชำระเงินระบบตะกร้าและระบบชำระเงิน E-commerce

  2. รายการเนื้อหา • องค์ประกอบ และลักษณะการทำงานของระบบตะกร้า • รูปแบบระบบตระกร้าที่เหมาะสม • วิธีการชำระเงินและการยื่นเรื่องเป็นร้านค้ารับบัตรเครดิต • ข้อควรระวังในการชำระเงิน

  3. E-commerce • ในระบบ e-commerce นั้นยังประกอบด้วย • ระบบตะกร้า (Shopping Cart) • ระบบการชำระเงิน (Payment System)

  4. ตะกร้าสินค้า(Shopping Cart) เป็นชื่อที่ใช้เรียกซอฟต์แวร์ที่ทำหน้าที่เป็นเสมือนรถเข็นสินค้าที่ลูกค้าใช้ระหว่างการเลือกสินค้าบนเว็บไซต์ คือเป็นตัวเก็บข้อมูลต่างๆของสินค้าทุกชิ้นที่ถูกเลือกไว้แล้ว เช่น รหัสสินค้า ราคา และจำนวนสินค้า ในขณะที่ลูกค้ากำลังเลือกสินค้าอื่นอยู่หรืออยู่ระหว่างรอชำระเงิน ระบบนี้จะเอื้ออำนวยให้ลูกค้าสามารถตรวจดูรายการสินค้า เพิ่มสินค้าใหม่ ย้ายสินค้าเดิมออก หรือเปลี่ยนแปลงจำนวนสินค้าตามที่ต้องการ ตราบใดที่ยังไม่ได้เข้าสู่ระบบชำระเงิน

  5. ลักษณะการใช้งานที่เคยชินลักษณะการใช้งานที่เคยชิน เลือกรายการสินค้าจากOnline Catalog สั่งซื้อสินค้าโดยคลิกOrder เพื่อหยอดสินค้า ลงตะกร้า Check Out หรือการคำนวณสินค้าและค่าขนส่ง จ่ายเงินผ่าน ระบบบัตรเครดิต

  6. Shopping Cart (ระบบตะกร้า) Online Catalog System Price Calculate System Payment System องค์ประกอบของระบบตะกร้า ทำหน้าที่รับคำสั่งซื้อจาก Online Catalog แล้วนำมาคำนวณราคาสินค้า รวมค่าขนส่งแล้วส่งต่อไปยังระบบการชำระเงิน

  7. องค์ประกอบของระบบตะกร้าองค์ประกอบของระบบตะกร้า โปรแกรมย่อยๆ ที่ใช้ในการประมวลผลCGI, ASP, PHP โปรแกรมย่อยๆ ที่ใช้ในการประมวลผลCGI, ASP, PHP Shopping Cart (ระบบตะกร้า) Online Catalog System Price Calculate System Payment System

  8. องค์ประกอบของระบบตะกร้าองค์ประกอบของระบบตะกร้า • องค์ประกอบหลักของระบบตะกร้า • การรับสินค้าเข้ารถเข็น • การรับชำระเงิน

  9. ระบบตะกร้าหรือรถเข็น โดยส่วนใหญ่มี 2 ระบบ • ระบบแบบเติมตัวเลขจำนวนสินค้า

  10. ระบบตะกร้าหรือรถเข็น โดยส่วนใหญ่มี 2 ระบบ • ระบบคลิกหยอดสินค้าลงตะกร้าที่ละชิ้น

  11. ระบบตะกร้าหรือรถเข็น การคลิกส่งสินค้าในแต่ละครั้งของทั้ง 2 แบบจะเป็นการส่งรหัสสินค้า, ราคา และข้อมูลอื่นๆ เข้าไปยังโปรแกรมประมวลผล เพื่อคำนวณยอดเงินและแสดงรายการที่สั่งซื้อไปแล้ว

  12. ระบบตะกร้าหรือรถเข็น Click เพื่อซื้อ รหัส,ราคาข้อมูลอื่นๆ โปรแกรมการประมวลผล CGI,ASP,PHP

  13. การติดตั้งระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์การติดตั้งระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ จัดสร้างเว็บเพจ จัดตั้งตะกร้า/ รถเข็นบนเว็บเพจ กำหนดค่าต่างๆ ให้ตะกร้า/รถเข็ (รหัส,ขนาด,ราคา, ค่าขนส่ง,ค่าจัดการต่างๆ) A

  14. การติดตั้งระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์การติดตั้งระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ A สมัครเป็นร้านค้า รับบัตรเครดิต สมัครขอใช้ระบบ SSL สร้างฟอร์มสำหรับ การสั่งซื้อ ใส่บัตรเครดิตใน แบบฟอร์มการสั่งซื้อ ติดตั้งระบบ SSL สำหรับชำระเงิน บนเครื่องเซิร์ฟเวอร์ นำเว็บเพจขึ้นติดตั้ง บนเว็บเซิร์ฟเวอร์ ที่ติดตั้ง SSL แล้ว

  15. ระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์-ส่วนหน้าร้านระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์-ส่วนหน้าร้าน Online Catalog สั่งซื้อ/ใส่สินค้าลงในตะกร้า ตะกร้า/รถเข็น ชำระเงิน ส่งใบขอซื้อไปยังผู้ขาย เข้ารหัสการชำระเงิน ด้วย SSL

  16. ระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์-ส่วนหน้าร้านระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์-ส่วนหน้าร้าน ส่งข้อมูลบัตรเครดิตให้ผู้ขาย ส่งใบสั่งซื้อและข้อมูลการขนส่งให้ผู้ขาย ส่งให้คนอื่นหรือไม่ ส่งใบสั่งซื้อและข้อมูลการขนส่งเพื่อยืนยันไปยังผู้ซื้อ ข้อมูลการขนส่ง เพิ่มเติม เรียบร้อยขอบคุณ ส่งข้อมูลการขนส่งเพิ่มเติมไปยังผู้ขาย

  17. ระบบรักษาความปลอดภัยในการชำระเงินระบบรักษาความปลอดภัยในการชำระเงิน มีส่วนสำคัญ 2 จุด • การคำนวณเงินค่าสินค้าเมื่อมีการ Check Out • ระบบการชำระเงินด้วยบัตรเครดิต

  18. ระบบรักษาความปลอดภัยในการชำระเงินระบบรักษาความปลอดภัยในการชำระเงิน การคำนวณเงินค่าสินค้าที่ดีจะต้อง • สามารถคำนวณเงินแยกแสดงเป็นค่าต่างๆ ได้อย่างชัดเจน • ควรมีความยืดหยุ่นในการแสดงผล หรือเพิ่มการประมวลผลอื่นได้ เช่น • คิดในเรื่องของส่วนลดอัตโนมัติตามปริมาณสินค้า • สิทธิพิเศษสำหรับผู้ซื้อที่เป็นสมาชิก และที่ลืมไม่ได้คือ “ระบบรักษาความปลอดภัย”

  19. ระบบรักษาความปลอดภัยในการชำระเงินระบบรักษาความปลอดภัยในการชำระเงิน ระบบรักษาความปลอดภัยที่นิยมใช้โดยทั่วไปจะใช้ระบบ SSL (Secure Socket Layer) - โดยต้องจดทะเบียนกับ VeriSign (www.verisign.com) เพื่อให้ได้กุญแจสำหรับเข้ารหัสซึ่งจะทำให้ Browser รู้จักและทำการเข้ารหัส ควรดำเนินการขอ SSL Certificate ล่วงหน้า ก่อนกำหนดการใช้งานจริงอย่างน้อย 10-15 วันทำการ • https://ssl.in.th/tools/suggestion/

  20. รูปแบบของตะกร้า • ตะกร้าแบบรวมราคาขนส่ง • ตะกร้าแบบระบบเฟรม • ตะกร้าแบบ Pop-up • ตะกร้าแบบค้าส่ง • ตะกร้าแบบเพิ่มยอดขาย • ตะกร้าแบบเพื่อการส่งออก • ตะกร้าแบบเฉพาะตัวแทนจำหน่าย • ตะกร้าแบบลับเฉพาะ

  21. ตะกร้าแบบรวมค่าขนส่ง

  22. ตะกร้าแบบเฟรม

  23. ตะกร้าแบบ Pop-up

  24. ตะกร้าแบบค้าส่ง Minimum Order และตั้งราคาแบบ F.O.B

  25. ตะกร้าแบบเพิ่มยอดขาย เป็นระบบตะกร้าที่จะคำนวณส่วนลดให้ โดยเมื่อปริมาณของสินค้าถึงระดับที่กำหนดจะได้รับส่วนลดทันที เช่น เมื่อซื้อ เก้าอี้ครบ 20 ตัวจะได้รับส่วนลด 10% หรือเป็นการขายแบบผูกขาด เช่น เมื่อซื้อโต๊ะคอมพิวเตอร์จะต้องซื้อเก้าอี้ไปด้วย

  26. ตะกร้าแบบส่งออก

  27. ตะกร้าแบบส่งออก

  28. ตะกร้าแบบเฉพาะตัวแทนจำหน่ายตะกร้าแบบเฉพาะตัวแทนจำหน่าย เป็นตะกร้าที่ใช้เฉพาะกลุ่ม โดยผู้ใช้จะเป็นตัวแทนของบริษัทเป็นผู้เข้ามาซื้อสินค้า ระบบตะกร้าแบบนี้จะมีระบบการยืนยันการสั่งซื้อ, การใช้ชื่อและ รหัสผ่านในการเข้ามาซื้อสินค้า เพื่อให้ทราบถึงตัวตนจริงของตัวแทนจำหน่าย และมีการแบ่งประเภทและคุณสมบัติของตัวแทนจำหน่ายแต่ละราย

  29. ตะกร้าแบบลับเฉพาะ มีลักษณะเดียวกับตะกร้าแบบส่งออก ต่างกันเพียงแต่จะปิดราคาไว้ให้เฉพาะสมาชิกหรือผู้ที่รู้จักเท่านั้นจึงจะเข้ามาได้ แต่สำหรับผู้ที่ไม่รู้จักจะต้องลงทะเบียน เพื่อขอรับรหัสในการ login เพื่อเข้าไปซื้อสินค้า

  30. ตะกร้าแบบแก้ไขรายละเอียดสินค้าได้ตะกร้าแบบแก้ไขรายละเอียดสินค้าได้ เป็นตะกร้าที่สามารถปรับเปลี่ยน Spec. หรือคุณสมบัติต่างๆ ของสินค้าที่สั่งซื้อได้และสามารถคำนวณราคาของสินค้าตามคุณสมบัติที่ปรับเปลี่ยนไปได้

  31. ตะกร้าแบบแก้ไขรายละเอียดสินค้าได้ตะกร้าแบบแก้ไขรายละเอียดสินค้าได้

  32. วิธีการชำระเงินและการยื่นเรื่องเป็นร้านรับบัตรเครดิตวิธีการชำระเงินและการยื่นเรื่องเป็นร้านรับบัตรเครดิต • ใช้บัตรเครดิต (นิยมใช้ในปัจจุบัน)แต่รูปแบบอื่นยังมีปัญหาคือ • การโอนเงินผ่านทางธนาคาร • E-Money หรือ E-Cash

  33. วิธีการชำระเงินและการยื่นเรื่องเป็นร้านรับบัตรเครดิตวิธีการชำระเงินและการยื่นเรื่องเป็นร้านรับบัตรเครดิต ปัญหาการใชบัตรเครดิตของไทย • มีธนาคารที่เปิดรับบัตรเครดิตทางเว็บอย่างเป็นทางการน้อย • ธนาคารที่รับยังจำกัดขอบเขตอยู่ที่สำนักงานใหญ่ • ธนาคารไทยพาณิชย์,ธนาคารกสิกรไทย,ธนาคารเอเชีย และ ธนาคารกรุงไทย • ธนาคารหักค่าคอมมิชชั่น 5-10% ของยอดแต่ละรายการ • ต้องมีเงินฝากค้ำประกัน

  34. ขั้นตอนการขอเป็นร้านรับบัตรเครดิตขั้นตอนการขอเป็นร้านรับบัตรเครดิต 1. เขียนโครงการอย่างย่อโดยระบุจุดประสงค์ของร้าน 2. แจ้งลักษณะของสินค้า จุดแข็ง การบรรจุ การขนส่ง 3. ระบุกลุ่มเป้าหมาย 4. พิมพ์ตัวอย่างเว็บและแจ้ง URL 5. แจ้งเงื่อนไขความรับผิดชอบความเสียหารต่อลูกค้าและธนาคาร 6. มีนโยบายการส่งสินค้า การประกันภัย การรับคืนสินค้า 7. ทีมงาน และ Company Profile

  35. ขั้นตอนการขอเป็นร้านรับบัตรเครดิตขั้นตอนการขอเป็นร้านรับบัตรเครดิต 8. แสดงสถานะทางการเงิน 9. พยากรณ์ยอดขายที่จะได้รับต่อเดือน และต่อปี 10. เตรียมสัญญาการสั่งซื้อหรือการผลิตสินค้าจาก Supplier

  36. การจดทะเบียนโดเมนเนม (Domain Name Register)

  37. การจดโดเมนเนม (Register a domain name) • การจดทะเบียนชื่อโดเมนเสมือนการจดทะเบียนชื่อบริษัทในระบบปกติ • การจดชื่อโดเมนจะไม่มีการซ้ำกันเนื่องจากมีหน่วยงานกลางในการดูแล • การเลือกชื่อโดเมนเป็นเรื่องที่ยากในปัจจุบันซึ่งต้อง • สั้นกระชับจำง่ายและสื่อความหมายถึงสินค้าหรือบริการนั้นๆ • ตัวอย่างหน่วยงาน • Register.com • Networksolution.com • Thainic.net • ThNic.Net

  38. Domain Name คือ อะไร • คือชื่อที่กําหนดขึ้นเพื่อใช้ในการอ้างอิงที่อยู่บนเครือข่ายคอมพิวเตอร์ แทนการใช้เลขหมายไอพี (IP Address) • ชื่อที่ถูกเรียกแทนการเรียกเป็นหมายเลขอินเทอร์เน็ต (IP Address) เนื่องจากการจดจำหมายเลข IP ถึง 16 หลัก ทำให้ยุ่งยาก • เช่นเว็บไซต์ของเนคเทค มีหมายเลข IP คือ 202.44.204.33 ซึ่งยากต่อการจดจำ (ในกรณีที่ต้องจำหลายเว็บไซต์) ดังนั้นจึงมีการกำหนดชื่อเรียกใหม่ เป็น www.nectec.or.th ซึ่งก็คือ "ชื่อโดเมน“

  39. Domain Registration ขั้นตอนการจดทะเบียนโดเมนเนม (Domain Name Registration) • ตรวจสอบชื่อที่ต้องการใช้ว่ามีผู้อื่นจดทะเบียนไปหรือยังสามารถตรวจสอบได้ที่ WHOIS.COM • หรือผู้ให้บริการรับจดโดเมนลงทะเบียนเมื่อได้ลงทะเบียนจดโดเมนเนม ทาง InterNIC หรือ THnic จะประกาศว่าชื่อของท่านได้มีการจดทะเบียนแล้ว จากนั้นจะใช้เวลาประมาณ 1-3 วัน โดยทุก ISP จะต้องทำการอัพเดตข้อมูลเว็บไซต์บนตาราง DNS ก่อน หลังจากนั้นก็สามารถเรียกดูได้ทางอินเตอร์เน็ต

  40. - การจดทะเบียน โดเมนเนม .com .net .biz .org .info ไม่ต้องใช้เอกสารใดๆ - ส่วนโดเมนที่ลงท้ายด้วย co.th เป็นโดเมนสำหรับการพาณิชย์และธุรกิจ บริษัท หรือห้างหุ้นส่วนผู้จดโดเมนเนม ภายใต้หมวดหมู่นี้จะต้องเป็นองค์กรพาณิชย์ที่จดทะเบียนในประเทศไทย การจดทะเบียนโดเมน ภายใต้ ".CO.TH" ของแต่ละ บริษัท/ห้างหุ้นส่วนจำกัด ทำได้เพียง 1 ชื่อ โดยชื่อที่ จดโดเมนได้นอกเหนือจาก ชื่อ/ชื่อย่อ/ส่วนหนึ่งส่วนใดของชื่อบริษัท หรือจะต้องเป็นเครื่องหมายการค้า (Trademark) ที่มีการจดทะเบียนกับกรมทรัพย์สินทางปัญญา โดเมนเนมที่จดทะเบียนจะต้องไม่เป็น ชื่อประเทศไทย เดี่ยวๆ เช่น thailand.co.thหรือชื่อจังหวัด เช่น bangkok.co.thเป็นต้น การจดทะเบียน โดเมน ที่เป็นชื่อ บริษัท/ห้างหุ้นส่วนจำกัด ต้องเป็นชื่อเต็ม/ชื่อย่อ/ส่วนหนึ่งส่วนใดของชื่อ บริษัท/ห้างหุ้นส่วนจำกัด นั้น ๆ และต้องแสดงหลักฐานการจัดตั้ง บริษัท/ห้างหุ้นส่วนจำกัด อย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้ - ทะเบียนบริษัท (ท.ค.0401)- หนังสือรับรองบริษัท/ห้างหุ้นส่วนจำกัด - ทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภ.พ.20) - ใบคำร้องขอเปลี่ยนแปลงข้อมูลด้านภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภ.พ.09)- ทะเบียนประกอบธุรกิจของบริษัทต่างด้าวในประเทศไทย (ท.ค.0506)

  41. เทคนิคการตั้งโดเมนเนมเทคนิคการตั้งโดเมนเนม • สั้นๆ • จำง่าย • ได้ความหมายธุรกิจ • สะกดผิดยาก * ถ้าชื่อโดเมนเนมที่ได้ ขึ้นต้นด้วยตัวอักษร “a” จะยิ่งช่วยให้มีโอกาสมากขึ้น เราไม่เคยเห็นร้านหนังสือ amazon.com แต่เราก็รู้วิธีที่จะไปทีร้านหนังสือแห่งนี้ และซื้อหนังสือได้ ทราบไหมครับว่า ทำไม ? โดเมนเนม คือสิ่งสำคัญที่สุด เพราะมันจะใช้แสดงความมีตัวตนของธุรกิจของคุณ

  42. ตัวอย่าง tactic ของโดเมนเนม HOTMAIL.COM HTOMAIL.COM THAIMAIL.COM THAIMALE.COM ARZOO.COM AR + ZOO AMAZON + YAHOO

  43. เว็บโฮสติ้ง (Web Hosting)

  44. เว็บโฮสติ้งคืออะไร? Web Hosting ทำหน้าที่ ในการแผยแพร่เว็บ มีการให้บริการพื้นที่สำหรับจัดเก็บข้อมูล เช่นเว็บเพ็จ,รูปภาพ หรือ โปรแกรมต่างๆ ไว้ที่ "เว็บเซิร์ฟเวอร์ " (Web Server) ซึ่งมีการเชื่อมต่อกับอินเตอร์เน็ตตลอดเวลา (24 ชั่วโมง/ 7 วัน)

  45. การพิจารณาเช่าเว็บโฮสติ้งการพิจารณาเช่าเว็บโฮสติ้ง ควรจะพิจารณาเว็บไซต์ของเราก่อนว่าเว็บไซต์เป็นแบบไหนเพื่อที่จะสามารถเลือก Hosting ได้ตรงกับความต้องการ ควรตั้งอยู่ในประเทศหรือต่างประเทศ XXX ??? • กลุ่มเป้าหมาย ผู้ที่จะเข้ามาที่เว็บคือใครหากเป็นลูกค้าในประเทศ ก็ควรเลือก Hosting ที่ตั้งอยู่ในประเทศ เพราะเวลาลูกค้ากดดูข้อมูลในเว็บไซต์ ก็จะสามารถเข้าถึงข้อมูลได้เร็วกว่า • ข้อกฎหมาย ถ้าตั้งโต๊ะพนัน หรือสิ่งไม่ถูกกฎหมายก็ไม่ควรเลือก Hosting ในประเทศ (ไม่นำให้ทำผิดกฎหมาย) • พื้นที่ในการจัดเก็บ สามารถรองรับข้อมูลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นได้เพียงพอหรือไม่ โดยปรกติ ขนาดของพื้นที่ๆ ใช้จะมีให้เลือกหลายขนาด ขึ้นอยู่กับอัตราค่าเช่า

  46. การพิจารณาเช่าเว็บโฮสติ้งการพิจารณาเช่าเว็บโฮสติ้ง 4. มีการเขียนเว็บโปรแกรมมิ่งหรือไม่ ในการทำเช่นเว็บบอร์ด, โปรแกรมส่งเมล์หาสมาชิก (Mailing List), หรือ โปรแกรมการเก็บฐานข้อมูล (Database) ควรจะเช็กกับทางผู้ให้บริการ Hosting ว่า Server ใช้ OS (Operating System อะไรถ้าหากเป็น Windows ก็สามารถใช้กับ ภาษาในการเขียนโปรแกรม ได้แก่ ASP , ASP.Net , PHP, Perl, JAVA แต่ถ้าหากเป็นใช้ OS เป็น Linux ก็จะสามารถใช้ได้เฉพาะ PHP, Perl , JAVA

  47. การพิจารณาเช่าเว็บโฮสติ้งการพิจารณาเช่าเว็บโฮสติ้ง 5. ระบบ Backup ข้อมูลควรมีระบบสำรองข้อมูล (Backup) รายวันเพื่อป้องกันความผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้น 6. ปริมาณข้อมูลที่รับ-ส่งได้ (Bandwidth) Hosting บางแห่งจะมีการจำกัดปริมาณข้อมูลที่มีการรับส่งเข้าออกจากเว็บไซต์ 7. จำนวน e-mail ที่สามารถใช้ได้ เช็กว่ามีบริการ E-mail หรือไม่ แล้วเราจำเป็นต้องใช้หรือไม่ 8. การ Support หรือการให้บริการหลังการขาย การให้บริการของ Web Hosting ในการให้บริการตอบคำถามหรือติดตามปัญหาต่างๆ รวดเร็วแค่ไหน มีบริการตลอด 24 ชั่วโมง 7 วันไหม? (ส่วนใหญ่คนที่เลือกบริการ Hosting ต่างประเทศมักจะเจอปัญหาการติดต่อกับผู้ให้บริการลำบาก)

  48. การพิจารณาเช่าเว็บโฮสติ้งการพิจารณาเช่าเว็บโฮสติ้ง 8. ราคาหรือค่าบริการ อัตราค่าบริการที่ Web Hosting เรียกเก็บเป็นรายเดือนจะขึ้นอยู่กับความสามารถและประสิทธิภาพของ Hosting ที่ต้องการโดยราคาค่าบริการบางแห่งจะกำหนดเป็น package

  49. Q & A

More Related