1 / 16

การส่งเสริมสุขภาพป้องกันควบคุมโรค ในกลุ่มเด็กวัยรุ่น วัยเรียน

การส่งเสริมสุขภาพป้องกันควบคุมโรค ในกลุ่มเด็กวัยรุ่น วัยเรียน. ร้อยละของเด็กวัยเรียน (๖ - ๑๒ ปี )มีส่วนสูงระดับดี และรูปร่างสมส่วน (ไม่น้อยกว่า ๗๐ ). พัฒนาตามกระบวนการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ : ระบบเฝ้าระวังภาวะสุขภาพ ภาวะโภชนาการ , การตรวจสุขภาพด้วนตนเอง. ข้อเสนอ. โอกาสพัฒนา. จุดเด่น.

clea
Download Presentation

การส่งเสริมสุขภาพป้องกันควบคุมโรค ในกลุ่มเด็กวัยรุ่น วัยเรียน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การส่งเสริมสุขภาพป้องกันควบคุมโรคการส่งเสริมสุขภาพป้องกันควบคุมโรค ในกลุ่มเด็กวัยรุ่น วัยเรียน

  2. ร้อยละของเด็กวัยเรียน (๖-๑๒ ปี )มีส่วนสูงระดับดี และรูปร่างสมส่วน (ไม่น้อยกว่า ๗๐ )

  3. พัฒนาตามกระบวนการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ : ระบบเฝ้าระวังภาวะสุขภาพ ภาวะโภชนาการ , การตรวจสุขภาพด้วนตนเอง ข้อเสนอ โอกาสพัฒนา

  4. จุดเด่น

  5. อัตราการใช้ถุงยางอนามัยของนักเรียนชายระดับมัธยมศึกษา ไม่น้อยกว่า ร้อยละ ๕๐ จากการสำรวจนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ จำนวน ๓๒๙ คน

  6. การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรค ประเด็นการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคทุกกลุ่มวัย กลุ่มเด็ก สตรี กลุ่มเด็กปฐมวัย กลุ่มเด็กวัยรุ่น วัยเรียน กลุ่มวัยทำงาน

  7. จังหวัดร้อยเอ็ดมีกระบวนการจัดระบบบริหารจัดการEPIจังหวัดร้อยเอ็ดมีกระบวนการจัดระบบบริหารจัดการEPI พัฒนาศักยภาพ ผู้รับผิดชอบงานEPI ระดับอำเภอ ตำบล ให้รับรู้และ มีแนวทางการปฏิบัติงานEPI วิเคราะห์ข้อมูลรายอำเภอ

  8. ความก้าวหน้าของจังหวัดร้อยเอ็ดต่อข้อเสนอแนะของผู้นิเทศรอบที่ ๑/๒๕๕๖ ในประเด็นของการบริหารจัดการข้อมูลงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค • ผู้รับผิดชอบงาน EPI ของ สสจ.เริ่มนำข้อมูลในสถานบริการระดับอำเภอมาวิเคราะห์เชิงลึก เพื่อวางแผนพัฒนางาน • จัดระบบการติดตามข้อมูลความครอบคลุม EPI ได้ชัดเจนและเป็นรูปธรรม

  9. ผลการดำเนินงานการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคผลการดำเนินงานการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค

  10. ผลการดำเนินงานการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคผลการดำเนินงานการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค

  11. ผลการดำเนินงานการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคผลการดำเนินงานการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค

  12. * เด็กได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและเคลือบหลุมร่องฟันเพิ่มขึ้นจากรอบที่ 1 จุดเด่นและโอกาสในการพัฒนา

  13. ร้อยละของศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ (Psychosocial Clinic) และเชื่อมโยงกับระบบช่วยเหลือในโรงเรียน เช่น ยาเสพติด บุหรี่ OSCC คลินิกวัยรุ่นฯลฯ เป้าหมายไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ผลการดำเนินงาน ดำเนินการได้17 แห่ง จากเป้าหมาย 17แห่ง คิดเป็น ร้อยละ 100 เชิงปริมาณ • มีการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนและการใช้ครอบครัวอบอุ่นต้นแบบในการแก้ไขปัญหาเด็กและวัยรุ่นจากการมีส่วนร่วมเครือข่าย อปท. จำนวน10 อำเภอ • เป็นพื้นที่ 1ใน 6 ของประเทศ ที่มีโครงการนำร่องนักจิตวิทยาโรงเรียน ส่งผลให้การดำเนินงานชัดเจน เชิงคุณภาพ ขยาย ต้นแบบไปทุกอำเภอ โอกาสในการพัฒนา

  14. การเยี่ยมชมให้กำลังใจการเยี่ยมชมให้กำลังใจ

  15. ขั้นที่ 1 การเตรียมทีมงาน

More Related