1 / 40

โดย รศ.ดร.อัญชลีพร วาริทสวัสดิ์ หล่อทองคำ สาขาวิชาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.

เกณฑ์การคัดเลือกข้อเสนอโครงการวิจัย. โดย รศ.ดร.อัญชลีพร วาริทสวัสดิ์ หล่อทองคำ สาขาวิชาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ฝ่ายอุตสาหกรรม. สิ่งที่ต้องทราบเมื่อจะเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย. รู้เขา (แหล่งทุนและผู้วิจัยอื่น) ..... รู้เรา (ลักษณะงานและทีมงาน).

clea
Download Presentation

โดย รศ.ดร.อัญชลีพร วาริทสวัสดิ์ หล่อทองคำ สาขาวิชาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เกณฑ์การคัดเลือกข้อเสนอโครงการวิจัยเกณฑ์การคัดเลือกข้อเสนอโครงการวิจัย โดย รศ.ดร.อัญชลีพร วาริทสวัสดิ์ หล่อทองคำ สาขาวิชาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ฝ่ายอุตสาหกรรม

  2. สิ่งที่ต้องทราบเมื่อจะเขียนข้อเสนอโครงการวิจัยสิ่งที่ต้องทราบเมื่อจะเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย รู้เขา (แหล่งทุนและผู้วิจัยอื่น) ..... รู้เรา (ลักษณะงานและทีมงาน) - แหล่งทุนวิจัยและพันธกิจของแหล่งทุน -การกำหนดโจทย์วิจัย และเกณฑ์ในการประเมินข้อเสนอโครงการวิจัย -ความแตกต่างของการวิจัยและพัฒนา เพราะมีผลต่อการทบทวนทฤษฎีและวรรณกรรม และลีลาการเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย -ความแตกต่างของโครงการแบบDemand pull/ Supply push/ชุดโครงการหรือบูรณาการ และความแตกต่างของผลงานวิจัย สิ่งประดิษฐ์และวิศวกรรมย้อนรอย เพราะมีผลต่อการเลือกแหล่งทุน และลีลาการเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย -หลักการเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย

  3. ตัวอย่างปัจจัยที่เป็นเกณฑ์ในการประเมินข้อเสนอโครงการวิจัยตัวอย่างปัจจัยที่เป็นเกณฑ์ในการประเมินข้อเสนอโครงการวิจัย - พันธกิจของแหล่งทุนและประเภทของทุนวิจัย - ประเภท เช่น • งานที่สอดคล้องและสนองนโยบายรัฐ • งานวิจัยพื้นฐาน และงานแบบ Supply push • งานวิจัยประยุกต์ การพัฒนาเชิงทดลอง และงานแบบ Demand pull ชุดโครงการหรืองานแบบบูรณาการ • งาน Area based • สิ่งประดิษฐ์ • งานแบบวิศวกรรมย้อนรอย • การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์

  4. ตัวอย่างปัจจัยที่เป็นเกณฑ์ในการประเมินข้อเสนอโครงการวิจัย (ต่อ) - ความชัดเจนของความสำคัญและที่มาของโครงการ - ความชัดเจนของการตรวจสอบทฤษฎี ผลงานวิจัย และสิทธิบัตร - ประโยชน์:ผลได้หรือผลรับ (Outputs) / ผลลัพธ์หรือผลบังเกิด (Outcomes) / ผลกระทบ (Impact) / การเปลี่ยนแปลง (Change) - ความรู้พื้นฐาน - องค์ความรู้ใหม่ - องค์ความรู้เก่าที่ต้องการยืนยัน - การพัฒนาสู่เชิงพาณิชย์ การพัฒนาสังคม ฯลฯ - วิธีการดำเนินการวิจัย เช่น วิธีการรวบรวมข้อมูล ฯลฯ วิธีการวิเคราะห์ข้อมูล

  5. อย่าลืม:องค์ประกอบที่ทำให้ได้รับการสนับสนุนทุนวิจัยอย่าลืม:องค์ประกอบที่ทำให้ได้รับการสนับสนุนทุนวิจัย “ระบบการบริหารงานวิจัย” ที่ดี • ข้อเสนอโครงการต้องอยู่ภายใต้วัตถุประสงค์ของแหล่งทุนนั้นๆ • ข้อเสนอโครงการควรเป็น “ชุดโครงการ (โครงการแบบบูรณาการ)” โครงการที่ประสานได้กับโครงการอื่นเพื่อตอบสนองกับความต้องการของผู้ใช้ / แผนชาติ เพราะผลที่ได้จะเป็น High impact • ถ้าทราบรายละเอียดของวิธีการประเมินข้อเสนอโครงการ จะต้องเขียนข้อเสนอโครงการให้สอดคล้องกับวิธีการประเมินในแต่ละหัวข้อ

  6. แนวทางการกำหนดโจทย์วิจัยรัฐกำหนดแนวทางการสนับสนุนงานวิจัยดังนี้แนวทางการกำหนดโจทย์วิจัยรัฐกำหนดแนวทางการสนับสนุนงานวิจัยดังนี้ 1. งานที่สอดคล้องและสนองนโยบายรัฐ ร้อยละ 50 2. งานวิจัยพื้นฐาน (Basic research) ร้อยละ 30 3. งานวิจัยประยุกต์ วิจัยพัฒนา ร้อยละ 20

  7. วิสัยทัศน์ด้าน การวิจัยของประเทศ แผนพัฒนาประเทศด้านต่างๆ ด้านสิ่งแวดล้อม ความต้องการด้านอุตสาหกรรม พาณิชย์ ศักยภาพของประเทศ ในการวิจัยด้าน S & T ทิศทางการวิจัย ด้านการเมือง ด้านสังคม ผู้เชี่ยวชาญระดมแนวคิดในการกำหนดเทคโนโลยี งานวิจัยต้องมีทิศทาง เพื่อกำหนดแผน กลยุทธ์และแผนปฏิบัติการ

  8. แต่ละส่วนของข้อเสนอโครงการมีความสำคัญแต่ละส่วนของข้อเสนอโครงการมีความสำคัญ • ชื่อโครงการ (Project title) • ความเป็นมาและความสำคัญของเรื่อง (Background and Justification) • วัตถุประสงค์ (Objectives) • ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ (Expected outputs) • ผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง (Literature reviews) • แนวทางและวิธีการดำเนินการ (Research design or Methodology) • ผู้รับผิดชอบ (Working group) • ระยะเวลา (Time) • งบประมาณ (Budget) • เอกสารอ้างอิง (References) • ประวัตินักวิจัย

  9. หลักการและเหตุผลเชื่อมกับปัญหา ความรุนแรงของปัญหา จึงต้องการแก้ปัญหา (โดยการหาปัญญาเพื่อแก้ปัญหา) • วัตถุประสงค์ ต้องเป็นไปเพื่อแก้ปัญหา (ไม่ใช่แค่ได้ปัญญา) ตามที่ระบุในหลักการและเหตุผล • ผลได้ ต้องทำให้วัตถุประสงค์บรรลุผล (ถ้าเป็นการแก้ปัญหา ก็ต้องมีการ Implement ผลวิจัย) • วิธีการ ต้องทำแล้วได้ผลได้ โดยวิธีการที่ “เร็ว” “ถูก” “ดี/แม่น/ยำ เชื่อถือได้” วิธีการจึงอยู่ในกรอบของ Acceptable lower limit (ALL) ของการใช้ทรัพยากร • งบประมาณ ต้องสอดคล้องกับกิจกรรมในวิธีการ และเป็น ALL ความเชื่อมโยงของหัวข้อในข้อเสนอโครงการ

  10. ทุกหัวข้อในข้อเสนอโครงการมีหน้าที่เฉพาะ ต้องเอาใจใส่เวลาเขียน และเมื่อเขียนเสร็จ ต้องถามกลับว่า แต่ละหัวข้อที่เขียนไปนั้นมันได้ทำหน้าที่ของมันแล้วหรือยัง ข้อเสนอโครงการที่หน้าที่ของทุกหัวข้อสอดคล้อง ชัดเจน และถูกต้องหลักวิชาการ จะช่วยให้การตีพิมพ์ผลงานง่ายขึ้น

  11. ความจำเป็นของ Format Format คือ การกำหนดระบบข้อมูล ดังนั้นถ้าไม่เขียนตาม Format ข้อมูลจะไม่ครบอย่างที่ผู้ให้ทุนต้องการเห็น ผู้ทรงคุณวุฒิประเมินข้อเสนอโครงการตามข้อมูลที่กำหนดในแบบประเมิน ซึ่งมาจากรายละเอียดใน Format

  12. ประเด็นการตรวจสอบโครงร่างวิจัยเพื่อให้ทุนประเด็นการตรวจสอบโครงร่างวิจัยเพื่อให้ทุน • ความสอดคล้องระหว่างโครงร่างวิจัยที่เสนอกับโครงการหลัก • ความชัดเจนของความเป็นมาและความสำคัญของเรื่อง คำถามวิจัย และความสามารถที่จะทำได้ • ความสอดคล้องของวัตถุประสงค์กับวิธีการดำเนินการวิจัย เช่น วิธีการรวบรวมข้อมูล ฯลฯ วิธีการวิเคราะห์ข้อมูล ความสมเหตุสมผล

  13. ประเด็นการตรวจสอบโครงร่างวิจัยเพื่อให้ทุน (ต่อ) • การตรวจสอบทฤษฎี ผลงานวิจัย และสิทธิบัตรที่เกี่ยวข้อง • ขั้นตอนการทำงานและระยะเวลา • คุณค่าของผลการวิจัยที่คาดว่าจะได้ • - ความรู้พื้นฐาน • - องค์ความรู้ใหม่ • - องค์ความรู้เก่าที่ต้องการยืนยัน • - การพัฒนาสู่เชิงพาณิชย์ การพัฒนาสังคม ฯลฯ • 7. งบประมาณ

  14. ความเป็นมาและความสำคัญของเรื่องความเป็นมาและความสำคัญของเรื่อง • ต้องเขียนให้คนอ่านเข้าใจภาพใหญ่ของปัญหาก่อน แล้วไล่สาเหตุลงมาจนถึงประเด็นที่เราจะทำว่าเป็นส่วนสำคัญของปัญหาใหญ่ และอาจเพิ่มเติมว่า ถ้าแก้ปัญหาได้จะเกิดอะไร สมมติฐานเป็นจุดเริ่มต้นและกรอบของการค้นหาคำตอบ

  15. วัตถุประสงค์ • เพื่อการศึกษา (แบบนี้ค่อนข้างโบราณ) • เพื่อตรวจสอบ (Examine) • เพื่อค้นหา (Investigate) • เพื่อหาผลกระทบ (Effect) • เพื่อหาผลสะท้อน (Impact) • เพื่อหาผลกระทบ (Consequence) • เพื่อค้นหาอิทธิพล (Influences) • เพื่อสืบค้น แสวงหา สำรวจ (Explore) คำที่นิยมใช้ ซึ่งจะนิยมจำแนกเป็นข้อ ๆ เช่น : 1) ........................ 2) ........................ และไม่ต้องมีจำนวนมาก

  16. การสำรวจทฤษฎีและวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องการสำรวจทฤษฎีและวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง • ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง • งานวิจัย วรรณกรรม และสิทธิบัตร ที่เกี่ยวข้อง • - Methodology • - ผลที่ได้ • - ข้อดี • - ข้อเสีย • **ควรตรวจสอบทั้ง Paper review และ Patent review **

  17. ข้อเสนอโครงการควร 1. เป็นงานแบบบูรณาการ 2. สอดคล้องกับนโยบายวิจัยของชาติ ฉบับที่ 6 (2545-2549) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 วาระแห่งชาติ ยุทธศาสตร์ของประเทศ ฯลฯ 3. ต่อยอดได้ นำไปใช้ได้จริง และประเมินค่าได้ 4. มีพลวัต สอดคล้องกับความเป็นจริง 5. สามารถแก้ไขปัญหาได้ทั้งระยะสั้นและระยะยาว เพิ่มมูลค่าทาง เศรษฐกิจ หรือสังคม 6. เป็นงานวิจัยที่สร้างนักวิจัยและเครือข่ายวิจัย 7. มีส่วนร่วมจากหลายฝ่ายทั้งภาครัฐ-เอกชน-ชุมชน

  18. พบว่า ข้อเสนอโครงการที่ไม่ผ่าน 1. ไม่สอดคล้องกับนโยบายวิจัยของแหล่งทุน 2. เป็นงานทำซ้ำซ้อน มีผู้ทำแล้ว ดังนั้นควร Review งานให้ชัดเจน 3. ไม่เป็นไปตามข้อกำหนด เช่น ขอทุนซ้ำซ้อน ส่งเอกสารไม่ครบ สมบูรณ์ เขียนงบประมาณไม่ชัดเจน 4. ไม่มี User(s) ที่ชัดเจน สิ่งที่ควรหลีกเลี่ยง 1. ข้อเสนอโครงการต้องไม่ทิ้งคำถามไว้ในใจผู้อ่าน (ผู้ประเมินโครงการ) 2. ไม่ใช้คำว่า มาก มากมาย น้อยมาก สูงขึ้น ควรใช้จำนวนตัวเลขร้อยละ หรือประมาณการเป็นตัวเลข จะทำให้น่าเชื่อถือกว่า

  19. ตัวอย่างแบบประเมินทุน สกว. window I ปี 2553 การให้คะแนนสำหรับภาคการผลิต โจทย์พัฒนาผลิตภัณฑ์ 1. ผลิตภัณฑ์ 1.1 เป็นผลิตภัณฑ์ที่บูรณาการเข้า line การผลิตที่มีอยู่ได้ง่าย 1.2 เป็นผลิตภัณฑ์ที่มีโอกาสทางตลาดง่าย 2. วิธีการวิจัย (Methodology) 2.1 Approach ของวิธีการเหมาะสม 2.2 วิธีการวัดและการตรวจสอบปัจจัยที่ศึกษา (รวมทั้งสถิติ) มีความแม่นยำ 2.3 แนวทางวิเคราะห์ผลคาดว่าให้คำตอบที่ถูกต้อง 3. แผนการทำงาน 3.1 มีระดับขั้นตอนที่ถูกต้อง 3.2 ขั้นตอนการทำงานกับเนื้องานมีความเป็นไปได้ที่จะสำเร็จภายใน 18 เดือน 3.3 มีแผนการทำงานเชื่อมกับโรงงานที่ทำให้เกิดการเรียนรู้ทั้ง 2 ฝ่าย

  20. ตัวอย่างแบบประเมินทุน สกว. window I ปี 2553 (ต่อ) การให้คะแนนสำหรับภาคการผลิต โจทย์พัฒนากระบวนการ 1. กระบวนการ 1.1 แนวทางการปรับปรุงกระบวนการที่เสนอสามารถ implement ใน line การผลิตได้ง่าย 1.2 การปรับปรุงนี้จะไม่ทำให้เกิดปัญหาอื่นตามมา (เช่น มีอันตราย ไอน้ำไม่พอ) 2. วิธีการวิจัย (Methodology) 2.1 Approach ของวิธีการเหมาะสม 2.2 วิธีการวัดและการตรวจสอบปัจจัยที่ศึกษา (รวมทั้งสถิติ) มีความแม่นยำ 2.3 แนวทางวิเคราะห์ผลคาดว่าให้คำตอบที่ถูกต้อง 3. แผนการทำงาน 3.1 มีระดับขั้นตอนที่ถูกต้อง 3.2 ขั้นตอนการทำงานกับเนื้องานมีความเป็นไปได้ที่จะสำเร็จภายใน 18 เดือน 3.3 มีแผนการทำงานเชื่อมกับโรงงานที่ทำให้เกิดการเรียนรู้ทั้ง 2 ฝ่าย

  21. ตัวอย่างแบบประเมินทุน สกว. window I ปี 2553 (ต่อ) การให้คะแนนสำหรับภาคการผลิต โจทย์หาความรู้ที่เกี่ยวข้อง 1. ความรู้ 1.1 เป็นความรู้ที่มุ่งสู่อนาคตของผู้ประกอบการรายนี้ 1.2 เป็นความรู้ที่ผู้ประกอบการรายนี้มีศักยภาพ absorb ได้ 2. วิธีการวิจัย (Methodology) 2.1 Approach ของวิธีการเหมาะสม 2.2 วิธีการวัดและการตรวจสอบปัจจัยที่ศึกษา (รวมทั้งสถิติ) มีความแม่นยำ 2.3 แนวทางวิเคราะห์ผลคาดว่าให้คำตอบที่ถูกต้อง 3. แผนการทำงาน 3.1 มีระดับขั้นตอนที่ถูกต้อง 3.2 ขั้นตอนการทำงานกับเนื้องานมีความเป็นไปได้ที่จะสำเร็จภายใน 18 เดือน 3.3 มีแผนการทำงานเชื่อมกับโรงงานที่ทำให้เกิดการเรียนรู้ทั้ง 2 ฝ่าย

  22. ตัวอย่างแบบประเมินทุน สกว. window I ปี 2553 (ต่อ) การให้คะแนนสำหรับภาคการบริการ โจทย์พัฒนาผลิตภัณฑ์ 1. ผลิตภัณฑ์ (หมายถึง service ใหม่ เช่น เดิมเป็นร้านอาหาร แต่คิดจะเพิ่มบริการตัดผมด้วย) 1.1 เป็น service ที่เป็นไปได้สำหรับลูกค้าเดิม ที่จะรับบริการใหม่เพิ่ม 1.2 เป็นไปได้ที่บูรณาการกับ service เดิมเพื่อเพิ่มมูลค่าโดยไม่ลงทุนมาก (เช่น ธนาคาร ให้บริการรับจ่ายภาษี) 2. วิธีการวิจัย (Methodology) 2.1 Approach ของวิธีการเหมาะสม 2.2 วิธีการวัดและการตรวจสอบปัจจัยที่ศึกษา (รวมทั้งสถิติ) มีความแม่นยำ 2.3 แนวทางวิเคราะห์ผลคาดว่าให้คำตอบที่ถูกต้อง 3. แผนการทำงาน 3.1 มีระดับขั้นตอนที่ถูกต้อง 3.2 ขั้นตอนการทำงานกับเนื้องานมีความเป็นไปได้ที่จะสำเร็จภายใน 18 เดือน 3.3 มีแผนการทำงานเชื่อมกับโรงงานที่ทำให้เกิดการเรียนรู้ทั้ง 2 ฝ่าย

  23. ตัวอย่างแบบประเมินทุน สกว. window I ปี 2553 (ต่อ) การให้คะแนนสำหรับภาคการบริการ โจทย์พัฒนากระบวนการ 1. กระบวนการ (หมายถึงปรับปรุงกระบวนการ service ที่มีอยู่) 1.1 กระบวนการที่ใช้ในปัจจุบันล้าสมัย จำเป็นต้องวิจัยหาความรู้มาปรับปรุง 1.2 การปรับปรุงจะไม่สร้างปัญหาอื่นตามมา (เช่น ความสับสนทางบัญชี) 2. วิธีการวิจัย (Methodology) 2.1 Approach ของวิธีการเหมาะสม 2.2 วิธีการวัดและการตรวจสอบปัจจัยที่ศึกษา (รวมทั้งสถิติ) มีความแม่นยำ 2.3 แนวทางวิเคราะห์ผลคาดว่าให้คำตอบที่ถูกต้อง 3. แผนการทำงาน 3.1 มีระดับขั้นตอนที่ถูกต้อง 3.2 ขั้นตอนการทำงานกับเนื้องานมีความเป็นไปได้ที่จะสำเร็จภายใน 18 เดือน 3.3 มีแผนการทำงานเชื่อมกับโรงงานที่ทำให้เกิดการเรียนรู้ทั้ง 2 ฝ่าย

  24. ตัวอย่างแบบประเมินทุน สกว. window I ปี 2553 (ต่อ) การให้คะแนนสำหรับภาคการบริการ โจทย์หาความรู้ที่เกี่ยวข้อง 1. ความรู้ 1.1 เป็นความรู้ที่มุ่งสู่อนาคตของผู้ประกอบการรายนี้ 1.2 เป็นความรู้ที่ผู้ประกอบรายนี้การมีศักยภาพ absorb ได้ 2. วิธีการวิจัย (Methodology) 2.1 Approach ของวิธีการเหมาะสม 2.2 วิธีการวัดและการตรวจสอบปัจจัยที่ศึกษา (รวมทั้งสถิติ) มีความแม่นยำ 2.3 แนวทางวิเคราะห์ผลคาดว่าให้คำตอบที่ถูกต้อง 3. แผนการทำงาน 3.1 มีระดับขั้นตอนที่ถูกต้อง 3.2 ขั้นตอนการทำงานกับเนื้องานมีความเป็นไปได้ที่จะสำเร็จภายใน 18 เดือน 3.3 มีแผนการทำงานเชื่อมกับโรงงานที่ทำให้เกิดการเรียนรู้ทั้ง 2 ฝ่าย

  25. ตัวอย่างแบบประเมินทุน สกว. window I ปี 2553 (ต่อ) การให้คะแนนสำหรับภาคการค้า โจทย์พัฒนากระบวนการ 1. กระบวนการ (หมายถึงกระบวนการในการทำกิจการค้าขาย เช่น ใช้ IT bar code) 1.1 กระบวนการที่ใช้ในปัจจุบันล้าสมัย จำเป็นต้องวิจัยหาความรู้มาปรับปรุง 1.2 การปรับปรุงจะไม่สร้างปัญหาอื่นตามมา (เช่น ความสับสนทางบัญชี) 2. วิธีการวิจัย (Methodology) 2.1 Approach ของวิธีการเหมาะสม 2.2 วิธีการวัดและการตรวจสอบปัจจัยที่ศึกษา (รวมทั้งสถิติ) มีความแม่นยำ 2.3 แนวทางวิเคราะห์ผลคาดว่าให้คำตอบที่ถูกต้อง 3. แผนการทำงาน 3.1 มีระดับขั้นตอนที่ถูกต้อง 3.2 ขั้นตอนการทำงานกับเนื้องานมีความเป็นไปได้ที่จะสำเร็จภายใน 18 เดือน 3.3 มีแผนการทำงานเชื่อมกับโรงงานที่ทำให้เกิดการเรียนรู้ทั้ง 2 ฝ่าย

  26. ตัวอย่างแบบประเมินทุน สกว. window I ปี 2553 (ต่อ) การให้คะแนนสำหรับภาคการค้า โจทย์หาความรู้ที่เกี่ยวข้อง 1. ความรู้ 1.1 เป็นความรู้ที่มุ่งสู่อนาคตของผู้ประกอบการรายนี้ 1.2 เป็นความรู้ที่ผู้ประกอบการรายนี้มีศักยภาพ absorb ได้ 2. วิธีการวิจัย (Methodology) 2.1 Approach ของวิธีการเหมาะสม 2.2 วิธีการวัดและการตรวจสอบปัจจัยที่ศึกษา (รวมทั้งสถิติ) มีความแม่นยำ 2.3 แนวทางวิเคราะห์ผลคาดว่าให้คำตอบที่ถูกต้อง 3. แผนการทำงาน 3.1 มีระดับขั้นตอนที่ถูกต้อง 3.2 ขั้นตอนการทำงานกับเนื้องานมีความเป็นไปได้ที่จะสำเร็จภายใน 18 เดือน 3.3 มีแผนการทำงานเชื่อมกับโรงงานที่ทำให้เกิดการเรียนรู้ทั้ง 2 ฝ่าย

  27. แบบประเมิน ทุน Window II 5 4 3 2

  28. ประเด็นให้ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาข้อเสนอโครงการทุน สกว. – สมาคมผู้ค้าอัญมณีไทยและเครื่องประดับ (ต่อ) 3. วิธีวิจัย - ตรวจสอบวิธีวิจัยตลอดจนวัสดุอุปกรณ์ว่าสอดคล้องกับวัตถุประสงค์และผลที่คาดว่าจะ ได้รับหรือไม่ - วิธีที่เลือกใช้มีความทันสมัย (up-to-date) - ต้องทำทุกขั้นตอนที่เสนอมาหรือไม่ มีทางเลือกอื่นหรือไม่ จะมีอุปสรรคอะไรบ้าง - แผนงานและเวลาเหมาะสมกับวิธีการที่เสนอหรือไม่ 4. ผลได้หรือผลรับ (Outputs) - คุ้มกับการลงทุนวิจัยและพัฒนา - สามารถคืนทุนได้ในเวลาที่กำหนด - ผู้ใช้งานได้ประโยชน์จากงานวิจัย หรือต้องมีการวิจัยและการพัฒนาเพิ่มเติม

  29. ประเด็นให้ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาข้อเสนอโครงการทุน สกว. – สมาคมผู้ค้าอัญมณีไทยและเครื่องประดับ (ต่อ) 5. งบประมาณ เนื้องานและผลที่ได้รับเหมาะสมกับงบประมาณที่เสนอหรือไม่ มีอะไรบ้างที่อาจจะไม่จำเป็นต้องใช้หรือต้องทำโดยไม่กระทบต่อผลที่ได้รับอย่างมีนัยสำคัญ 6.ความเสี่ยง พิจารณาความเสี่ยงหรือข้อจำกัดในงานวิจัยเพราะงานบางอย่างมีความเสี่ยงสูง เช่น การเปลี่ยนเทคโนโลยี รสนิยมของผู้บริโภค 7. ทรัพย์สินทางปัญญาถ้าเป็นงานวิจัยและพัฒนาที่มุ่งผลเชิงพาณิชย์จะต้องใช้กลไกการจัดการทรัพย์สินทางปัญญามาสนับสนุน โดยพิจารณางานวิจัยสามารถนำไปจดสิทธิบัตรได้หรือไม่ คุ้มค่าการจดหรือไม่ มีโอกาสละเมิดสิทธิบัตรผู้อื่นหรือไม่ 8. แนวโน้มของตลาดและลู่ทางจำหน่ายผลิตภัณฑ์ (กรณีผลที่ได้รับเป็นผลิตภัณฑ์) ผลิตภัณฑ์ที่ได้มีโอกาสแข่งขันกันทั้งตลาดภายในและภายนอกประเทศ ใครคือคู่แข่งของประเทศไทย และผลิตภัณฑ์นั้นมีอนาคตที่ยั่งยืนหรือไม่

  30. ประเด็นให้ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาข้อเสนอโครงการทุน สกว. – สมาคมผู้ค้าอัญมณีไทยและเครื่องประดับ (ต่อ) 9. นักวิจัย มีคุณวุฒิ คุณสมบัติ และความพร้อมที่จะทำงานวิจัยได้สำเร็จ 10. หน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง สกว. ไม่ต้องการเห็นการวิจัยที่ซ้ำซ้อนทั้งหัวเรื่องและการใช้ทรัพยากร หากผู้ทรงคุณวุฒิทราบว่ามีหน่วยงานอื่นหรือบุคคลอื่นที่กำลังทำวิจัยเรื่องทำนองเดียวกันนี้ หรือได้ทำไปแล้ว หรือควรรับทราบ หากมีชื่อบุคคลและเบอร์โทรศัพท์จะเป็นประโยชน์ยิ่ง (โปรดระบุ)

  31. โจทย์จากผู้ประกอบการที่ สปว. ประกาศหานักวิจัย สำหรับปี 2552

  32. โจทย์จากผู้ประกอบการที่ สปว. ประกาศหานักวิจัย สำหรับปี 2552

  33. โจทย์จากผู้ประกอบการที่ สปว. ประกาศหานักวิจัย สำหรับปี 2552 นักวิจัยและผู้ประกอบการอาจอยู่ไกลกัน แต่ก็อาจเป็นโอกาสที่ดี

  34. จากบทเรียน 1. โจทย์วิจัยต้องมีศักยภาพ 2. ต้องคัดเลือกนักวิจัย BIODATA 7. ผู้จัดการโครงการควรหาโอกาสพูดคุยกับนักวิจัยมากขึ้น 3. แบบประเมินต้องคัดกรองโครงการที่ต้องการได้ บทเรียน 6. ยังขาด Research exploitation ต้องทำให้เกิด Outcomes จาก Outputs ของผลงานวิจัย 4. ต้องคัดเลือกผู้ทรงคุณวุฒิ 5. การมีส่วนร่วมของกลุ่มผู้ประกอบการ พิจารณาโครงการเป็นสิ่งที่ดีมาก

  35. ความคิดเห็นส่วนตัว ผู้บริหารจัดการงานวิจัย มีจิตวิญญาณของการเรียนรู้ตลอดเวลา มีความเข้าใจความแตกต่างของนักวิจัยและ ผู้ประกอบการ ต้องประสานประโยชน์ของสองฝ่าย ไม่มีอคติและไม่ใช้ความคุ้นเคยในการตัดสินใจ

  36. มีจิตวิญญาณของการเรียนรู้ตลอดเวลามีจิตวิญญาณของการเรียนรู้ตลอดเวลา ความสำเร็จไม่ได้มาจากพรสวรรค์เพียงอย่างเดียว แต่จะต้องมีแรงขับและความทะเยอทะยานที่อยากจะเรียนรู้ในสิ่งแปลกใหม่ ไม่มีอคติและไม่ใช้ความคุ้นเคยในการตัดสินใจ เพราะอาจทำให้มองข้าม (overlook) ประเด็นสำคัญได้

  37. A: Excuse me...How can I go to the wet ? B: Wet or west ? A: I mean the place. THE WET not THE WEST B: Hum...What wet ? Maybe toilet/rest room/lavatory/ WC (water closet) Where is the wet ???

  38. ดังนั้น อย่าใช้ความคุ้นเคย

  39. ผู้จัดการชุดโครงการทุนวิจัยมหาบัณฑิต สกว. ว & ท รศ.ดร.อัญชลีพร วาริทสวัสดิ์ หล่อทองคำ สำนักงานโครงการทุนวิจัยมหาบัณฑิต สกว. ตึกภาควิชาวิศวกรรมเคมี ชั้น 6 ห้อง ChE 605 คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง เขตลาดกระบัง กทม. 10520 โทรศัพท์ติดต่อการเงิน 0-2326-4423 หรือ 084-077-0202 หรือ0-2739-2418-9 ต่อ 152 ติดต่อวิศวกรโครงการ 0-2739-2387หรือ 0-2326-4424 หรือ 086-777-1895 หรือ0-2739-2418-9 ต่อ 167 โทรสาร 0-2739-2387หรือ0-2326-4423 E-mailtrfmag@kmitl.ac.thหรือ trfmag@yahoo.com http://www.trfmag.org

  40. Q U E S T I O N S

More Related