1 / 12

การจัดการสวนปาล์มน้ำมัน

การจัดการสวนปาล์มน้ำมัน. ความสำคัญ.

clara
Download Presentation

การจัดการสวนปาล์มน้ำมัน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การจัดการสวนปาล์มน้ำมันการจัดการสวนปาล์มน้ำมัน

  2. ความสำคัญ ปาล์มน้ำมันนับได้ว่าเป็นพืชยืนต้นเศรษฐกิจที่สำคัญของภาคใต้ ในระยะไม่กี่ปีที่ผ่านมานี้ พื้นที่ปลูกปาล์มน้ำมันได้ขยายตัวอย่างมาก ในปี 2513 มีพื้นที่เพาะปลูก 13,157 ไร่ และเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ประมาณว่าในปี 2532 มีพื้นที่ปลูกปาล์มน้ำมันทั้งสิ้นประมาณ 854,000 จนปัจจุบัน(พศ. 2544) มีพื้นที่ปลูกโดยประมาณ 1.80 ล้านไร่ จังหวัดที่มีพื้นที่ปลูกมากที่สุดคือ จังหวัดกระบี่ รองลงมาคือสุราษฏร์ธานี ชุมพรสตูลตรัง และอื่นๆ

  3. ลักษณะพันธุ์ปาล์มน้ำมันลักษณะพันธุ์ปาล์มน้ำมัน • พันธุ์ดูรา (Dura) เป็นพันธุ์ที่มีกะลาหนาประมาณ 2-8 มม. มักใช้เป็นต้นแม่สำหรับปรับปรุงพันธุ์เพื่อผลิตลูกผสมเป็นการค้า • พันธุ์ฟิสิเฟอรา (Pisifera) เป็นพันธุ์ที่มีกะลาบางมาก หรือบางครั้งไม่มีกะลาใช้พันธุ์ • ฟิสิเฟอราเป็นต้นพ่อสำหรับผลิตพันธุ์ ลูกผสม • พันธุ์เทเนอรา (Tenera) เป็นลูกผสมระหว่างพันธุ์แม่ดูราและพันธุ์พ่อฟิสิเฟอรา นิยมปลูกเป็นการค้าในปัจจุบัน

  4. สภาพดินฟ้าอากาศและภูมิอากาศสภาพดินฟ้าอากาศและภูมิอากาศ อุณหภูมิ เฉลี่ยต้องไม่เกิน 29 - 30o c. แต่ไม่ต่ำกว่า 22 - 24o C. ปริมาณน้ำฝน ที่เหมาะสมควรมีมากกว่า 2,000 มม. ต่อปี มีการกระจายตัวของน้ำฝนสม่ำเสมอ เดือนที่มีฝนตกน้อยที่สุดไม่ควรต่ำกว่า 100 มม. ปริมาณแสง 1,500-2,000 ชม.ต่อปี คิดเฉลี่ยความ ต้องการต่อวันประมาณ 5-6 ชั่วโมง ความชื้นเฉลี่ยในรอบปีสูงกว่า 75% ลักษณะดิน ควรเป็นดินร่วนหรือเหนียว ความลึกของชั้นหน้าดินมากกว่า 75 ซม. ความสามารถในการซึมน้ำปานกลางถึงดี ความลาดชันของพื้นที่ น้อยกว่า 12o ซ.

  5. ขั้นตอนการเพาะกล้าสามารถกระทำได้ 3 วิธีด้วยกันคือ

  6. การเตรียมพื้นที่ • การบุกเบิกพื้นที่และการปรับสภาพพื้นที่ • การทำถนน และทางระบายน้ำ • การวางแนวในการปลูกปาล์มน้ำมัน • การปลูกพืชคลุมดิน

  7. พื้นที่ ลุ่มมีน้ำขังต้องยกร่อง พื้นที่ชันต้องทำขั้นบรรได พื้นที่ นายกร่อง พื้นที่ นาขุดคู พท นายกร่อง

  8. การช่วยผสมเกสร (Assistedpollination) • ช่อดอกตัวผู้และช่อดอกตัวเมียอยู่ในต้นเดียวกัน แต่แยกกันอยู่คนละช่อ ในระยะแรกของการติดผลมีการสร้างช่อดอกน้อย จึงควรช่วยผสมเกสรในระยะแรก • วิธีการทำโดย • ตัดช่อดอกตัวผู้ที่บานแล้วนำมาเคาะให้ละออง • ในวันถัดมาต้องนำละอองเกสรผึ่งแดดให้แห้ง • นำละอองเกสรที่แห้งเก็บรักษาใน discator • เมื่อจะทำการผสมเกสร จึงนำไปผสมกับผง talcum ในอัตราส่วน ละอองเกสร : ผง talcum 1:5 แล้วนำไปพ่นลงบนช่อดอกตัวเมียที่บานพร้อมรับการผสม • ด้วงงวงดอกปาล์มน้ำมัน (Elaeidobiuskarumericus) ช่วยในการผสมเกสร

  9. การใส่ปุ๋ย ปัจจัยสำคัญที่ควรคำนึงในการใส่ปุ๋ยคือ ความอุดมสมบูรณ์ของดินหรือปริมาณธาตุอาหารที่มีอยู่ในดินนั้น ๆ อายุการเจริญเติบโตหรือความต้องการของปาล์มน้ำมันในระยะต่าง ๆ ชนิดของปุ๋ยและอัตราที่ใช้ รวมไปถึงสภาพแวดล้อมลมฟ้าอากาศบริเวณนั้น มีผู้แนะนำการใส่ปุ๋ยปาล์มน้ำมันเมื่ออายุต่าง ๆ กัน โดยทั่วไปคือ • สำหรับปาล์มน้ำมันที่มีอายุตั้งแต่ 5 ปีขึ้นไปจะใส่ปุ๋ย • - แอมโมเนียมซัลเฟตประมาณ 1.75-2.50 กก./ต้น/ปี • - ร๊อคฟอสเฟต 1.00-1.50 กก./ต้น/ปี • - โปแตสเซียมคลอไรด์ 2.25-2.50 กก./ต้น/ปี

  10. การเก็บเกี่ยว หลังจากเกิดการผสมแล้วอีกประมาณ 5-6 เดือน หรือประมาณ 150 วันผลจะสุกแก่สามารถเก็บเกี่ยว ขณะที่ผลเริ่มเจริญเติบโต ปริมาณน้ำมันก็จะเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ จนกระทั่งผลสุกเต็มที่ ส่วนของแป้งและน้ำตาลเริ่มลดลง ในขณะที่ carotine และไขมันจะเพิ่มขึ้น หากว่าเก็บก่อนผลสุกเต็มที่ ปริมาณน้ำมันสะสมจะน้อย หรือถ้าเก็บเมื่อผลแก่เกินไป คุณภาพของน้ำมันก็ด้อยลงไป ในสภาวะอากาศชุ่มชื้น ควรทำการเก็บเกี่ยวทุก ๆ 7 วัน แต่ถ้าเป็นช่วงอากาศแห้งแล้ง ควรเก็บเกี่ยวทุก 10 วัน หากว่าตัดทะลายแล้วปล่อยทิ้งไว้ หรือการเก็บเกี่ยวผลที่สุกเกินไป น้ำมันในผลจะเปลี่ยนเป็นกรดไขมันอิสระทำให้คุณภาพและราคาลดลง

  11. สมาชิกในกลุ่ม : สัตว์ในนิยาย ชื่อ น.ส. กนิษฐา สุกสี รหัส 5510610001 ชื่อ น.ส. ณัฐทิดา ข้ามเขต รหัส 5510610030 ชื่อ น.ส. ศิริลักษณ์ จันทร์ทอง รหัส 5510610105 ชื่อ นาย จักรรัตน์ พรหมบุตรรหัส 5510610175 ชื่อ น.ส. พรพรรณ พร้อมมูล รหัส 5510610283 Section02

  12. ขอบคุณค่ะ ขอบคุณครับ

More Related