160 likes | 363 Views
โครงการ ภายใต้แผนปรับโครงสร้างอุตสาหกรรม ระยะที่ 2. โครงการ การสนับสนุนโครงสร้างพื้นฐานด้านมาตรวิทยา. สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ. รายละเอียดโครงการฯ. ชื่อโครงการ หน่วยงานรับผิดชอบโครงการ วัตถุประสงค์ กิจกรรมโครงการ แหล่งตรวจสอบและวัดความสำเร็จ ระยะเวลาโครงการ งบประมาณ ผลการดำเนินงาน.
E N D
โครงการภายใต้แผนปรับโครงสร้างอุตสาหกรรม ระยะที่ 2 โครงการ การสนับสนุนโครงสร้างพื้นฐานด้านมาตรวิทยา สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ 1
รายละเอียดโครงการฯ • ชื่อโครงการ • หน่วยงานรับผิดชอบโครงการ • วัตถุประสงค์ • กิจกรรมโครงการ • แหล่งตรวจสอบและวัดความสำเร็จ • ระยะเวลาโครงการ • งบประมาณ • ผลการดำเนินงาน
ชื่อโครงการ : การสนับสนุนโครงสร้างพื้นฐานด้านมาตรวิทยา หน่วยงานรับผิดชอบโครงการ : สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ
วัตถุประสงค์ : • เพื่อนำผลการสำรวจด้านการวัดและการอบรม ใช้สนับสนุนการจัดตั้ง ห้องปฏิบัติการสอบเทียบใน 4 ภูมิภาค • เพื่อบรรเทาการขาดแคลนบุคลากรด้านมาตรวิทยา และเพิ่มทักษะให้แก่ นักมาตรวิทยา • เพื่อสถาปนามาตรฐานแห่งชาติ โดยสนับสนุนอุตสาหกรรมยานยนต์และ ชิ้นส่วน ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ และอาหาร เพื่อให้เกิดการยอมรับผลการวัดและทดสอบ • เพื่อพัฒนาบุคลากรของสถาบันฯ โดยเพิ่มปริมาณและคุณภาพวิทยากร นักมาตรวิทยา และพนักงานในงานสนับสนุน เพื่อสนับสนุนโครงการนี้ให้ลุล่วง • เพื่อบริการสอบเทียบเครื่องมือวัดความแม่นยำสูงให้กับโรงงานอุตสาหกรรม และห้องปฏิบัติการสอบเทียบ โดยสามารถสอบกลับสู่มาตรฐานแห่งชาติ
กิจกรรมโครงการ : • การสำรวจความต้องการภาคอุตสาหกรรม • การพัฒนาหลักสูตรการสอน • การจัดอบรม สัมมนา • การจ้างผู้เชี่ยวชาญต่างประเทศ • การจ้างพนักงานชั่วคราวสำหรับประสานงานการจัดอบรม สัมมนา • การประชาสัมพันธ์กิจกรรมของสถาบันฯ • การจัดการมาตรฐานแห่งชาติ เพื่อสนับสนุน 3 อุตสาหกรรม
กิจกรรม/เป้าหมาย : • กิจกรรม หน่วย เป้าหมาย • 2544 2545 • 1. การสำรวจอุตสาหกรรม โรงงาน 500 500 • 2. การพัฒนาหลักสูตร และการพัฒนาบุคลากร หลักสูตร 2 2 • 3. การอบรมมาตรวิทยาเชิงปฏิบัติการ คน 600 500 • 4. การสัมมนามาตรวิทยาวงกว้าง คน 600 1,400 • 5. การจ้างผู้เชี่ยวชาญต่างประเทศ คน-เดือน 3 3 • 6. การจ้างพนักงานชั่วคราวจัดอบรม สัมมนา คน 2 2 • 7. การประชาสัมพันธ์ • 8. การจัดหามาตรฐานแห่งชาติ ชิ้น 100 500
แหล่งตรวจสอบและวัดความสำเร็จ : • ข้อมูลจากผลการสำรวจอุตสาหกรรม • รายงานผลการดำเนินโครงการรายเดือน • รายงานผลการดำเนินโครงการเมื่อสิ้นสุดโครงการ • รายงานผลการศึกษาความต้องการของภาคอุตสาหกรรมในด้านการวัดและการอบรม • รายงานสถานภาพและฐานข้อมูลของห้องปฏิบัติการสอบเทียบที่มีในปัจจุบัน • รายงานผลการศึกษาความเป็นไปได้ในการตั้งห้องปฏิบัติการสอบเทียบใน 4 ภูมิภาค • รายงานผลการถ่ายทอดค่าวัดจากเครื่องมือมาตรฐานของสถาบันฯ ไปยังเครื่องมือวัดในระดับรอง (Multiplier Effect) • รายงานผลการสำรวจการจัดอบรม/สัมมนา • รายงานผลการสำรวจความพึงพอใจในการใช้บริการสอบเทียบ
ระยะเวลาโครงการ : ตุลาคม 2543 - กันยายน 2545 งบประมาณ : ปี ครม.อนุมัติ สำนักงบประมาณอนุมัติ 2544 44,741,000.- 44,741,000.- 2545 11,010,000.- 9,696,900.- รวม 55,751,000.- 54,437,900.-
การสำรวจความต้องการภาคอุตสาหกรรมการสำรวจความต้องการภาคอุตสาหกรรม • การสำรวจความต้องการด้านการสอบเทียบ 460 แห่ง • การสำรวจความเป็นไปได้ในการตั้งห้องปฏิบัติการสอบเทียบ 4 ภูมิภาค 43 แห่ง • การสำรวจความต้องการสอบเทียบด้าน Flow 17 แห่ง • การสำรวจความต้องการสอบเทียบด้าน Force 35 แห่ง • การสำรวจฐานข้อมูลห้องปฏิบัติการสอบเทียบ 68 แห่ง • การสำรวจผลการถ่ายทอดค่าวัดของภาคอุตสาหกรรม 191 แห่ง รวม 814 แห่ง
การพัฒนาหลักสูตรการสอน (1) • ปี 2544 พัฒนาหลักสูตรทั้งสิ้น 6 หลักสูตร ได้แก่ • หลักสูตรระบบการสอบเทียบเครื่องมือวัดตาม ISO9000:2000 (ปรับปรุงให้ทันสมัย) • หลักสูตรระบบคุณภาพห้องปฏิบัติการตาม ISO/IEC 17025 • หลักสูตรการสอบเทียบเครื่องชั่งอิเลกทรอนิกส์ • หลักสูตรการสอบเทียบตุ้มน้ำหนักมาตรฐานตาม OIML R-111 (CD) • หลักสูตรการสอบเทียบ Dial Gauge & Height Gauge • หลักสูตรการสอบเทียบเครื่องมือวัดทางไฟฟ้า
การพัฒนาหลักสูตรการสอน (2) • ปี 2545 พัฒนาหลักสูตรทั้งสิ้น 3 หลักสูตร ได้แก่ • หลักสูตรความไม่แน่นอนของการวัดสำหรับช่างเทคนิค • หลักสูตรห้องปฏิบัติการสอบเทียบ กับการบริหารเชิงปฏิบัติการ • หลักสูตรการสอบเทียบการวัด และความถี่
การจัดอบรมมาตรวิทยาสัญจรการจัดอบรมมาตรวิทยาสัญจร • มี.ค. 44 จำนวน 4 หลักสูตร (จ.ชลบุรี) 105 คน • เม.ย. 44 จำนวน 3 หลักสูตร (จ.พระนครศรีอยุธยา) 38 คน • มิ.ย. 44 จำนวน 3 หลักสูตร (จ.เชียงใหม่) 82 คน • ส.ค. 44 จำนวน 4 หลักสูตร (จ.สงขลา) 90 คน • ก.ย.-พ.ย. 44 จำนวน 11 หลักสูตร (กทม.) 361 คน • ก.พ.-เม.ย. 45 จำนวน 6 หลักสูตร (กทม.) 196 คน • มิ.ย. 45 จำนวน 4 หลักสูตร (กทม.) 110 คน รวม 982 คน
การจัดสัมมนาวงกว้าง • 2 มี.ค. 44 MSTQ (จ.ชลบุรี) 163 คน • 10 พ.ค. 44 MSTQ (จ.เชียงใหม่) 138 คน • 7 มิ.ย. 44 ครบรอบ 3 ปี (กทม.) 485 คน • 12 ก.ค. 44 MSTQ (จ.สงขลา) 172 คน • 8 ส.ค. 44 MSTQ (จ.นครราชสีมา) 160 คน • 29 พ.ค. 45 ครบรอบ 4 ปี (กทม.) 496 คน • 4 ก.ค. 45 สัมมนาด้านไฟฟ้า 99 คน รวม 1,713 คน
การจ้างผู้เชี่ยวชาญต่างประเทศการจ้างผู้เชี่ยวชาญต่างประเทศ • 27 ต.ค. - 3 พ.ย. 44 จัดจ้างผู้เชี่ยวชาญด้านการวัดการไหล (Flow) จากประเทศญี่ปุ่น คือ Dr. Masaki Takamoto • 1-30 เม.ย. 45 และ 1-30 พ.ย. 45 จัดจ้างผู้เชี่ยวชาญ ด้านการวัดแรงและแรงบิด (Force and Torque) จากประเทศจีน คือ Prof. Dr. Li Qingzhong
การจ้างพนักงานชั่วคราวสำหรับประสานงานในการจัดอบรม/สัมมนาการจ้างพนักงานชั่วคราวสำหรับประสานงานในการจัดอบรม/สัมมนา • ปี 2544 จำนวน 2 คน • ปี 2545 จำนวน 2 คน
การประชาสัมพันธ์กิจกรรมของสถาบันฯการประชาสัมพันธ์กิจกรรมของสถาบันฯ • วารสาร Metrology Info รายไตรมาส • หนังสือ Annual Report ประจำปี 2543 • จัดพิมพ์ฐานข้อมูลห้องปฏิบัติการสอบเทียบปี 2544 • การแถลงข่าว และการเผยแพร่ข่าวสารผ่านสื่อมวลชนต่างๆ • การจัดนิทรรศการร่วมกับหน่วยงานต่างๆ • การพัฒนา Web Server