310 likes | 397 Views
การใช้คู่มือประเมินและป้องกัน พัฒนาการเด็กล่าช้าวัยแรกเกิดถึง 5 ปี กลุ่มพัฒนาเครือข่าย สถาบันราชานุ กูล. T hai D evelopmental S kills I nventory ( TDSI ) แบบประเมินเพื่อป้องกันปัญหาพัฒนาการ.
E N D
การใช้คู่มือประเมินและป้องกันการใช้คู่มือประเมินและป้องกัน พัฒนาการเด็กล่าช้าวัยแรกเกิดถึง 5 ปี กลุ่มพัฒนาเครือข่าย สถาบันราชานุกูล
Thai DevelopmentalSkills Inventory(TDSI) แบบประเมินเพื่อป้องกันปัญหาพัฒนาการ
พ.ศ.2552 สถาบันพัฒนาการเด็กราชนครินทร์ กรมสุขภาพจิต ได้ศึกษาและวิจัยพัฒนาการเด็กแรกเกิด – 5 ปี เพื่อพัฒนาแบบประเมินฉบับใหม่ ที่เข้าใจง่าย เหมาะสมกับยุคสมัยโดยพัฒนามาจาก - คู่มือ DSI สถาบันราชานุกูล - แบบประเมินพัฒนาการ DISC - แบบประเมิน Denver II ที่มาของเครื่องมือ
- ค่าความเชื่อมั่น (Reliability) คู่มือคัดกรอง=.97 คู่มือส่งเสริม =.98 - ค่าความไว (Sensitivity) เท่ากับ .91 คุณภาพของเครื่องมือ
แบบคัดกรองและส่งเสริมพัฒนาการ เด็กแรกเกิด - 5 ปี(TDSI) มีจำนวน 70 ข้อ แบ่งเป็น 5 ด้าน 14 ช่วงอายุ
1. ขั้นตอนการเตรียมความพร้อม 2. ขั้นตอนการสร้างสัมพันธภาพกับเด็ก 3. ขั้นตอนการคัดกรอง 4. ขั้นตอนสรุป ขั้นตอนการใช้แบบคัดกรองและส่งเสริมพัฒนาการเด็กแรกเกิด - 5 ปี(TDSI)
1. ขั้นตอนการเตรียมความพร้อม 1.1 การเตรียมตัวผู้คัดกรอง 1.2 การเตรียมอุปกรณ์ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1.4 การเตรียมเด็ก
1. ขั้นตอนการเตรียมความพร้อม 1.1 การเตรียมตัวผู้คัดกรอง • ศึกษาวิธีการใช้และทำความเข้าใจรายละเอียดของคู่มือ(ทักษะ วิธีการคัดกรอง เกณฑ์การตัดสิน การใช้อุปกรณ์) • เตรียมคำพูดที่จะถามล่วงหน้า • ทดลองทำก่อน 1.2 การเตรียมอุปกรณ์ • เตรียมให้ครบ ตามหมวดหมู่ • เปิดใช้ครั้งละ 1 ชุด • ทำความสะอาดหลังใช้
1. ขั้นตอนการเตรียมความพร้อม 1.3 การเตรียมสถานที่ • เป็นสัดส่วน อากาศถ่ายเท • พื้นสะอาด ปลอดภัย ไม่ลื่น ไม่มีของมีคม • ไม่มีสิ่งกระตุ้น/เร้าความสนใจ เช่น ทีวี ภาพสีฉูดฉาด • มีเบาะ โต๊ะ หรือเก้าอี้ เหมาะกับวัยเด็ก • ให้เด็กนั่งหันหลังให้สิ่งรบกวน 1.4 การเตรียมเด็ก • ไม่ป่วย ไม่หิว ไม่ง่วง หรืออิ่มเกินไป • ขับถ่ายให้เรียบร้อยก่อน • ให้เล่นอิสระหรือปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมก่อนคัดกรอง
แรกเกิด-6 เดือน - ยิ้มแย้ม พูดเสียงนุ่มนวล ชวนคุย (“หนูใส่เสื้อสวยจัง” “กินนมอิ่มหรือยังค่ะ” - ถ้าร้องไห้ อุ้มปลอบโยน หาสาเหตุ 7 เดือน -2 ปี - ถามผู้ปกครองเรื่องบุคลิกภาพพื้นฐานของเด็ก(“ชอบกิน/เล่นอะไร”) - ยิ้มกับเด็ก พูดนุ่มนวล ชวนเล่นของเล่น - หากเด็กสนใจทำหน้าตา/เสียงให้น่าสนใจ(เสียงสูงต่ำ ฯลฯ) 2. ขั้นตอนการสร้างสัมพันธภาพกับเด็ก
2-3 ปี - ชวนพูดคุย ชวนเล่นของที่เด็กสนใจ 3-5 ปี - วัยที่พูดโต้ตอบได้ ให้คุยกับเด็กเอง 2. ขั้นตอนการสร้างสัมพันธภาพกับเด็ก
3.1 แนะนำตัวเอง 3.2 คำนวณอายุเด็ก 3.3.เริ่มทดสอบพัฒนาการ 3.4 ประเมินให้ครบทุกทักษะทุกด้าน 3.5 บันทึกผลการทดสอบและสรุปผล 3. ขั้นตอนการคัดกรอง
3. ขั้นตอนการคัดกรอง 3.1 แนะนำตัวเอง • บอกว่าเราเป็นใคร • จะทำอะไร คำนึงถึง ผู้ฟังว่าเข้าใจตรงกันกับเราหรือไม่ (ทดสอบ ประเมิน พัฒนาการ) • ตกลงบริการ ( พ่อแม่/ผู้เลี้ยงดู ทำอะไรได้บ้าง ไม่ควรทำอะไร)
3. ขั้นตอนการคัดกรอง 3.2 คำนวณอายุเด็ก (ไม่คำนวณคลอดก่อนกำหนด)
3. ขั้นตอนการคัดกรอง 3.2 คำนวณอายุเด็ก (ไม่คำนวณคลอดก่อนกำหนด)
3. ขั้นตอนการคัดกรอง 3.3 เริ่มทดสอบพัฒนาการ 3.3.1 จะเริ่มข้อที่ต่ำกว่าอายุจริง 1 ช่วงอายุหรือช่วงอายุจริง (ดูจากผลของอนามัย 55 โดยเริ่มทักษะใดก่อนก็ได้) 3.3.2 เด็กทำได้ตั้งแต่เริ่มต้นใส่ผลการทดสอบ(เครื่องหมาย +) แล้วทดสอบข้อที่อยู่ในช่วงอายุที่สูงขึ้นไปจนเด็กไม่ผ่านข้อทดสอบ ใส่ผลการทดสอบ (เครื่องหมาย -) แล้วหยุด
3. ขั้นตอนการคัดกรอง 3.3 เริ่มทดสอบพัฒนาการ 3.3.3 กรณีเด็กทำไม่ได้ตั้งแต่เริ่มต้นใส่ผลการทดสอบ (เครื่องหมาย-) ให้ถอยไปทดสอบข้อที่อยู่ในช่วงอายุที่ต่ำกว่าจนเด็กผ่านข้อทดสอบ ใส่ผลการทดสอบ (เครื่องหมาย +) แล้วหยุด 3.3.4 ในช่วงอายุใดที่มีข้อทดสอบ 2 ข้อ หากข้อใดไม่ผ่านให้ใส่(เครื่องหมาย -) และข้อที่ผ่านให้ใส่(เครื่องหมาย +) และในด้านนั้นแปลผลทดสอบว่ายังไม่ผ่าน 3.3.5 ในช่วงอายุที่ไม่มีข้อทดสอบให้ถือว่าเด็กผ่านการทดสอบในช่วงอายุนั้น
3. ขั้นตอนการคัดกรอง 3.4 ประเมินให้ครบทุกด้าน/ทักษะในช่วงอายุนั้นๆ 3.5 บันทึกผลการทดสอบและสรุปผลการทดสอบในช่องสรุปผลการใช้แบบคัดกรองพัฒนาการเด็กแรกเกิด-5 ปี หมายเหตุ : ในกรณีที่คัดกรองเพื่อติดตามพัฒนาการในครั้งต่อไป ให้เริ่มต้นทดสอบข้อที่เด็กทดสอบไม่ผ่านในครั้งที่ผ่านมา
ตัวอย่างการบันทึกและสรุปผลการประเมินตัวอย่างการบันทึกและสรุปผลการประเมิน
4.1 สรุปผลการคัดกรองและแจ้งผู้ปกครอง - ขอบคุณพ่อแม่ - บอกจุดแข็ง (ด้านที่มีพัฒนาการมากกว่าอายุจริง เท่าอายุจริง) - บอกด้านที่ต้องพัฒนา (ด้านที่ต่ำกว่าอายุจริง) ระวังอย่าให้พ่อแม่/ผู้เลี้ยงดูใจเสีย 4. ขั้นตอนสรุป 4.2 แนะนำผู้ปกครองส่งเสริมพัฒนาการเด็กทุกด้านในข้อที่ไม่ผ่าน
1) แนะนำให้ผู้ปกครองเด็กส่งเสริมพัฒนาการเด็กในข้อทดสอบที่เด็กไม่ผ่าน 2) เจ้าหน้าที่สาธิตการส่งเสริมพัฒนาการเด็กในข้อนั้นๆ ให้ผู้ปกครองดูเป็นตัวอย่าง 3) ให้ผู้ปกครองส่งเสริมพัฒนาการเด็กอย่างต่อเนื่องที่บ้านโดยการใช้อุปกรณ์เทียบเคียงกับอุปกรณ์มาตรฐาน 4) แนะนำผู้ปกครองเชื่อมโยงการนำไปใช้กับชีวิตประจำวัน **ทำการประเมินพัฒนาซ้ำ หลังจากให้การส่งเสริมพัฒนาการเด็กแล้ว 1 เดือน วิธีการแนะนำผู้ปกครองในการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก
1. คำพูดที่ใช้ควรง่าย สั้น ชัดเจน และคงที่ 2. ให้เวลาเด็กปฏิบัติตาม 3 – 5 วินาที ถ้าเด็กยังไม่ได้ทำ ให้พูดซ้ำ( ข้อความเหมือนเดิม ) พร้อมกับการให้ความช่วยเหลือ 3. ให้ความช่วยเหลือเด็กเท่าที่จำเป็น 3.1 ทางกาย : จับมือทำ แตะข้อศอกกระตุ้น 3.2 ทางวาจา : บอกให้เด็กทราบ 3.3 ทางท่าทาง : ชี้ ผงกศีรษะ ส่ายหน้า หลักการส่งเสริมพัฒนาการ
4. เมื่อเด็กเกิดการเรียนรู้ เปลี่ยนข้อความ แต่มี ความหมายเหมือนเดิม 5. การให้แรงเสริม ให้ทันทีเมื่อเด็กทำได้ถูกต้อง เช่น ชมเชย ยิ้ม ปรบมือ สัมผัส ให้ขนม เป็นต้น ควรคำนึงถึง - เหมาะสมกับวัย เด็กแต่ละคนชอบไม่เหมือนกัน - ให้แรงเสริมบ่อย : เมื่อต้องการให้เกิดทักษะ/ พฤติกรรมใหม่ - ลดแรงเสริมเมื่อเด็กทำได้แล้ว - ควรขัดขวางไม่ให้เกิดพฤติกรรมที่ไม่ต้องการ หรือป้องกันไม่ให้เด็กทำสิ่งที่ผิด เช่น ใช้มือปิด สิ่งที่ไม่ถูกต้อง หลักการส่งเสริมพัฒนาการ
เด็กชายไทย เกิดวันที่ 17 สิงหาคม 2555 คำนวณอายุ = ผลการประเมินพัฒนาการด้วยอนามัย 55: ใช้ช้อนกินอาหาร ต่อก้อนไม้ 2 ก้อน พูดได้ 3 คำ วิ่ง กรณีตัวอย่าง 1 ปี 6 เดือน 26 วัน(18 ด.) × × √ √ ประเมินซ้ำด้วย TDSI : 70
กรณีตัวอย่าง : ผลการทดสอบพัฒนาการ
กรณีตัวอย่าง :ผลการทดสอบพัฒนาการ
กรณีตัวอย่าง :ผลการทดสอบพัฒนาการ
จากกรณีตัวอย่าง : บันทึกและสรุปผลการประเมิน สอนและให้คำแนะนำกลับไปฝึกต่อที่บ้านทั้งของ TDSI และอนามัย 55 กลับมาประเมินซ้ำด้วย TDSI และอนามัย 55
จากกรณีตัวอย่าง : สรุปพัฒนาการของเด็ก (อายุจริง 18 เดือน) ทักษะที่แนะนำผู้ปกครองส่งเสริมพัฒนาการที่บ้าน 1 เดือน 1. ขีดเขียน(เป็นเส้น)บนกระดาษได้ 2. เล่นการใช้สิ่งของตามหน้าที่ได้มากขึ้นด้วยความสัมพันธ์ของ 2 สิ่งขึ้นไป 3. ใช้ช้อนกินอาหาร (อนามัย55) 4. ต่อก้อนไม้ 2 ก้อน(อนามัย55) กลับมาประเมินซ้ำด้วย TDSI และอนามัย 55