190 likes | 434 Views
แพทย์หญิงอัจฉรา ธีรรัตน์ กุล. การใช้ประโยชน์จากฐานข้อมูล NAP เพื่อติดตามประเมินผลการดำเนินงาน และการฝ้าระวังสถานการณ์เอดส์. คณะทำงานบูรณาการ การ พัฒนาการ ใช้ ประโยชน์จากระบบข้อมูลผู้ติดเชื้อ และผู้ป่วย เอดส์ (NAP) ใน ระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ. เนื้อหา. การให้บริการรักษา ณ.สถานพยาบาล
E N D
แพทย์หญิงอัจฉรา ธีรรัตน์กุล การใช้ประโยชน์จากฐานข้อมูล NAP เพื่อติดตามประเมินผลการดำเนินงานและการฝ้าระวังสถานการณ์เอดส์ คณะทำงานบูรณาการการพัฒนาการใช้ประโยชน์จากระบบข้อมูลผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ (NAP) ในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
การให้บริการรักษา ณ.สถานพยาบาล (Clinical care) การให้การดูแลทางสังคมและจิดใจ (Psychosocial support) อัตราป่วยอัตราเสียชีวิต การดูแลทางสังคม (Socioeconomicsupport) การคุ้มครองด้านสิทธมนุษยชน และสิทธิประโยชน์ (Human Right & Legal Support) การดูแลรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวี และผู้ป่วยเอดส์
ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ • ผู้ให้บริการ/หน่วยบริการ (รพ.) • บุคลากรทางการแพทย์ • อาสาสมัคร เครือข่ายผู้ติดเชื้อ • ผู้ดูแลและช่วยเหลือทางสังคม • ชุมชน ครอบครัว • หน่วยงานภาครัฐ ผู้รับบริการ หน่วยสนับสนุนวิชาการกระทรวงสาธารณสุข ส่วนกลาง ศูนย์เขต สสจ วางแผนปรับปรุงการดำเนินงาน หน่วยงานบริหารจัดการสปสช. ส่วนกลาง และศูนย์เขต ผู้บริหาร กำหนดนโยบาย และวางแผนงานระดับประเทศ
เครื่องมือที่ใช้ในการติดตามผลการดำเนินงานเครื่องมือที่ใช้ในการติดตามผลการดำเนินงาน ระบบการติดตามการดูแลรักษาผู้ป่วยที่อยู่ภายใต้การดำเนินงานของกองทุนเอดส์ Disease Management Information System DMIS- NAP
ระดับการใช้ข้อมูล ระดับการใช้ข้อมูลรายงานตัวชี้วัด • ระดับโรงพยาบาล • ระดับจังหวัด • ระดับศูนย์เขต: สคร, สปสช.เขต,RAC, BAC • ระดับส่วนกลาง: สปสช สำนักโรคเอดส์ ศบจอ สำนักระบาดวิทยา สำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย ฯลฯ • ระดับโลก: นานาชาติ
วัตถุประสงค์ของการใช้ข้อมูล M&E ในระดับต่างๆ ระดับโลก Globalmanagement ระดับประเทศนโยบาย- แผนงาน ผู้บริหารการวางแผน จัดสรรงบประมาณ & บริหารจัดการ ระดับเขตระดับจังหวัด เพื่อติดตามแผนงานและสนับสนุนการดำเนินงานตามเป้าหมายที่กำหนด ระดับ รพ. หน่วยบริการ เพื่อปรับปรุงคุณภาพการให้บริการในหน่วยบริการ บุคลากร รพ.&ผู้ป่วย เพื่อวางแผนการดูแลรักษาให้กับผู้ป่วย (patient management)
การกำหนดเนื้อหาตัวชี้วัดตามแผนการดำเนินงานและวัตถุประสงค์การติดตามประเมินผลในแต่ละระดับการกำหนดเนื้อหาตัวชี้วัดตามแผนการดำเนินงานและวัตถุประสงค์การติดตามประเมินผลในแต่ละระดับ • มาตรฐานการให้บริการและประสิทธิภาพ ภาพรวมผลการดำเนินงานของทุกหน่วยบริการในพื้นที่ ระดับจังหวัด ศูนย์เขต และส่วนกลาง ความครอบคลุมการดำเนินงานทุกด้าน • ผู้ให้บริการ (รพ.)-ผู้รับบริการ • ภาพรวมผลการปฏิบัติงาน ระดับโรงพยาบาล • ClinicalMonitoring • Psychosocial Monitoring ภาพรวมผลลัพธ์และประสิทธิภาพ
ศูนย์บริหารจัดการปัญหาเอดส์ สำนักโรคเอดส์ฯ บริหารจัดการโครงการฯ วางแผนและติดตามผลการดำเนินงาน กำหนดนโยบายและแผนการดำเนินงาน ติดตามผลการดำเนินงานภาพรวมระดับประเทศ ปรับปรุงคุณภาพบริการของ รพ (HIVQUAL-T) และติดตาม/ป้องกันปัญหาเชื้อดื้อยา สำนักระบาดวิทยา สำนักส่งเสริมสุขภาพกรมอนามัย รพ. สสจ. สคร, ศอ, สปสช เขต การติดตามเฝ้าระวังสถานการณ์ ผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ วางแผนและติดตามผลการดำเนินงานป้องกันการติดเชื้อ HIV จากแม่สู่ลูก การดำเนินงานบริการบริหารจัดการ และติดตามผลการดำเนินงานระดับพื้นที่ การใช้ประโยชน์จากฐานข้อมูล NAP ของหน่วยงานด้านสาธารณสุข สปสช
การติดตามประเมินผลการดำเนินงานการติดตามประเมินผลการดำเนินงาน Goal Objectives เกณฑ์เป้าหมาย ตัวชี้วัด
“ตัวชี้วัด”vsการติดตามผลการดำเนินงาน“ตัวชี้วัด”vsการติดตามผลการดำเนินงาน Goal Objectives
การใช้ประโยชน์ข้อมูลจากฐานข้อมูล NAPเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงาน • การวิเคราะห์ข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพ • การแปลผลและการนำเสนอ • การนำข้อมูลไปสู่การปฏิบัติเพื่อให้เกิดผล
จัดทำ software program เพื่อวิเคราะห์ข้อมูลและจัดทำรายงาน NAP Data Analysis & ReportingSoftware Data entry • 1. จัดทำรายงานสำเร็จรูป • Routine monitoring และ NHSO KPI (บางตัว) • ตัวชี้วัดผลลัพธ์/ประสิทธิภาพการดำเนินงาน • ตัวชี้วัดสัญญาณเตือนเชื้อดื้อยา • รายงานเฝ้าระวังสถานการณ์ (สำนักระบาดวิทยา) • 2. จัดเตรียมฐานข้อมูลอย่างง่ายที่ รพ. สามารถวิเคราะห์ผลได้เอง Download cohort data in textfile
ระดับจังหวัด เขต และส่วนกลาง สปสช จัดทำรายงานสำเร็จรูปให้กับทุกระดับให้สามารถมา download ได้ รพ. สสจ ศูนย์เขต Download รายงานสำเร็จรูปจาก website ส่วนกลาง
ขั้นตอนการดำเนินงานการพัฒนาการใช้ข้อมูลจาก NAP ระดับโรงพยาบาล • วิเคราะห์คุณลักษณะของฐานข้อมูล NAP และการเตรียมการ • วิเคราะห์ความต้องการใช้ข้อมูลตามตัวชี้วัดหลัก และเนื้อหาที่เกี่ยวข้อง • วิเคราะห์ทางระบาดวิทยาเพื่อกำหนดแนวทางการใช้ค่าตัวแปรในฐานข้อมูล NAP และความเป็นไปได้ในการจัดเตรียม software • จัดเตรียมการส่งคืนข้อมูลให้ระดับ รพ. จัดเตรียม software NAPDAR • ทดสอบความเป็นไปได้ของระบบการทำงาน • วิเคราะห์ระบบการจัดส่งฐานข้อมูลให้กับระดับ รพ. ผ่าน web site • วิเคราะห์ระบบการทำงานของ NAPDAR ระดับ รพ. ใน รพ. นำร่อง • วิเคราะห์ระบบการทำงานของทุก รพ. ในพื้นที่จังหวัดนำร่อง • ขยายผลการดำเนินงาน • พัฒนาศักยภาพการใช้ข้อมูลในทุกระดับ • ติดตามประเมินผลการดำเนินงาน
ขั้นตอนการดำเนินงานการพัฒนาการใช้ข้อมูลจาก NAP ระดับ สสจ. ศูนย์เขตและส่วนกลาง • วิเคราะห์คุณลักษณะของฐานข้อมูล NAP และการเตรียมการ • วิเคราะห์รูปแบบความต้องการใช้ข้อมูลตามตัวชี้วัดหลัก • วิเคราะห์ทางระบาดวิทยาเพื่อกำหนดแนวทางการใช้ค่าตัวแปรในฐานข้อมูล NAP และการจัดเตรียม software ระดับส่วนกลาง • วิเคราะห์และจัดเตรียมระบบการออกรายงานจาก สปสช • ทดสอบความเป็นไปได้ของระบบการทำงาน • วิเคราะห์ระบบการ download รายงานจาก web site ในทุกระดับ • วิเคราะห์แนวทางการพัฒนาศักยภาพเพื่อนำข้อมูลไปใช้ให้เกิดประโยชน์ • ขยายผลการดำเนินงาน • พัฒนาศักยภาพการใช้ข้อมูลในทุกระดับ • ติดตามประเมินผลการดำเนินงาน