1 / 54

บนเส้นทางการบริหารอุดมศึกษาไทยสู่ความเป็นเลิศ

ศาสตราจารย์ ดร. คุณหญิงสุชาดา กีระนันทน์. บนเส้นทางการบริหารอุดมศึกษาไทยสู่ความเป็นเลิศ. บนเส้นทางการบริหารอุดมศึกษาไทย. สถานการณ์อุดมศึกษาไทยในบริบทโลก ประเด็นท้าทายอุดมศึกษาไทย การบริหารอุดมศึกษาไทยสู่ความเป็นเลิศ. สถานการณ์อุดมศึกษา ไทยในบริบทโลก. แนวโน้มสถานการณ์โลก

ciara
Download Presentation

บนเส้นทางการบริหารอุดมศึกษาไทยสู่ความเป็นเลิศ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ศาสตราจารย์ ดร. คุณหญิงสุชาดา กีระนันทน์ บนเส้นทางการบริหารอุดมศึกษาไทยสู่ความเป็นเลิศ

  2. บนเส้นทางการบริหารอุดมศึกษาไทยบนเส้นทางการบริหารอุดมศึกษาไทย • สถานการณ์อุดมศึกษาไทยในบริบทโลก • ประเด็นท้าทายอุดมศึกษาไทย • การบริหารอุดมศึกษาไทยสู่ความเป็นเลิศ

  3. สถานการณ์อุดมศึกษาไทยในบริบทโลกสถานการณ์อุดมศึกษาไทยในบริบทโลก • แนวโน้มสถานการณ์โลก • แนวโน้มสถานการณ์ภายในประเทศ • แนวโน้มสถานการณ์อุดมศึกษาไทย

  4. โลกปัจจุบัน • โลกแห่งการเปลี่ยนแปลงที่ไร้ขอบเขตหรือขีดจำกัด • เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เร็วและแรง • ไม่สามารถคาดการล่วงหน้าได้มากนัก • เป็นโลกที่ถูกกำกับด้วยกฎใหม่แห่งโลกาภิวัตน์

  5. สภาพปฐมเหตุ • ความก้าวหน้าทางวิทยาการ • ความก้าวหน้าด้าน IT และการสื่อสาร • การเปลี่ยนแปลงด้านสิ่งแวดล้อม • การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ • การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและการเมือง

  6. ความก้าวหน้าทางวิทยาการความก้าวหน้าทางวิทยาการ • วิทยาการเกิดขึ้นใหม่อย่างมากและรวดเร็ว • มีความร่วมมือกันมากขึ้น ทำให้เกิดการต่อยอดองค์ความรู้ได้เร็ว • องค์ความรู้ที่มีอยู่ ล้าสมัยได้เร็ว • ต้องแสวงหาวิธีการก้าวให้ทันและมีส่วนร่วมในการสร้างองค์ความรู้ใหม่

  7. ความก้าวหน้าด้าน IT และการสื่อสาร • ปรับวิธีการทำงาน • ปรับวิธีการเรียนรู้ • ปรับวิธีการบริหารจัดการ • ปรับวิถีการดำเนินชีวิตของมนุษย์

  8. การเปลี่ยนแปลงด้านสิ่งแวดล้อมการเปลี่ยนแปลงด้านสิ่งแวดล้อม • สิ่งแวดล้อมเปลี่ยนแปลงจากการทำลายทรัพยากรธรรมชาติ • ความขาดแคลนทรัพยากรธรรมชาติ • การหาพลังงานทดแทน • สิ่งแวดล้อมเป็นพิษ • ฯลฯ

  9. การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ • การเปิดเสรีทางการค้าและการเงิน • การรวมตัวทางเศรษฐกิจเพื่ออำนาจต่อรอง • ระบบเศรษฐกิจสมัยใหม่ที่อิงเทคโนโลยี • ความเสียเปรียบทางการแข่งขันของประเทศเล็กทางเศรษฐกิจ

  10. การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและการเมืองการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและการเมือง • ความเป็นประชาธิปไตย • สังคมข่าวสารและสารสนเทศ • สังคมฐานความรู้ • การก่อการร้ายและสงคราม • การเมืองระหว่างประเทศ

  11. ผลต่ออุดมศึกษา • หลักสูตรล้าสมัยง่าย • ต้องเร่งสร้างองค์ความรู้และติดตามความก้าวหน้าของวิทยาการมากขึ้น • สภาพการแข่งขันสูงทั้งภายในและภายนอกประเทศ • ความต้องการและความคาดหวังของสังคมเปลี่ยน

  12. ผลต่อบัณฑิต • คุณสมบัติของบัณฑิตที่พึงประสงค์เปลี่ยนไป • บัณฑิตพบการแข่งขันที่สูงมากขึ้นจากต่างประเทศ • บัณฑิตต้องปรับความรู้ให้ทันสมัยอยู่เสมอ • บัณฑิตต้องก้าวให้ทันเทคโนโลยี • ฯลฯ

  13. แนวโน้มสถานการณ์ภายในประเทศ • สถานการณ์ด้านสถาบันอุดมศึกษา • สถานการณ์ด้านงบประมาณ • สถานการณ์ด้านกฎเกณฑ์อุดมศึกษา • สถานการณ์ด้านระเบียบการบริหารราชการ

  14. สถานการณ์ด้านสถาบันอุดมศึกษาสถานการณ์ด้านสถาบันอุดมศึกษา • มหาวิทยาลัยของรัฐเพิ่มขึ้น • สถาบันอุดมศึกษาเอกชนเพิ่มและพัฒนาได้ดีขึ้น • มีการเปิดสอนทางไกลมากขึ้น • FTA • บทบาทมหาวิทยาลัยต่างประเทศ

  15. สถานการณ์ด้านสถาบันอุดมศึกษา(ต่อ)สถานการณ์ด้านสถาบันอุดมศึกษา(ต่อ) • แนวโน้มการหดตัวของประชากรวัยเรียนอุดมศึกษา โดยเฉพาะปริญญาตรี • ความคาดหวังจากภาครัฐ เอกชน และสังคม

  16. สถานการณ์ด้านงบประมาณสถานการณ์ด้านงบประมาณ • แนวโน้มงบประมาณแผ่นดินไม่เพิ่มในอัตราที่สูงขึ้น สัดส่วนงบประมาณจากเงินรายได้มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น • งบประมาณแผ่นดินเกือบทั้งหมดเป็นงบบุคลากร และยังไม่เพียงพอ • งบประมาณแผ่นดินมีงบพัฒนาน้อยมาก

  17. สถานการณ์ด้านกฎเกณฑ์อุดมศึกษาสถานการณ์ด้านกฎเกณฑ์อุดมศึกษา • เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร • เกณฑ์มาตรฐานอุดมศึกษา • เกณฑ์มาตรฐานการเรียนการสอนทางไกล • เปลี่ยนจากระบบ pre-audit เป็น post-audit โดยใช้ระบบรายงานที่สภามหาวิทยาลัยต้องรับผิดชอบ

  18. สถานการณ์ด้านระเบียบการบริหารราชการสถานการณ์ด้านระเบียบการบริหารราชการ • พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 • พ.ร.บ. ระเบียบการบริหารข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษาพ.ศ. 2547 • พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการกระทรวง ศึกษาธิการ

  19. แนวโน้มสถานการณ์สถาบันอุดมศึกษาไทยแนวโน้มสถานการณ์สถาบันอุดมศึกษาไทย • มหาวิทยาลัยของรัฐหรือในกำกับของรัฐ • ระบบบริหารบุคคลมากกว่า 2 ระบบ • ปัญหาจากขนาด- หลักสูตร คณาจารย์ นิสิต • ปัญหาด้านการเงินการงบประมาณ • การรักษาชื่อเสียงทางวิชาการ • ฯลฯ

  20. ประเด็นท้าทายการบริหารอุดมศึกษาไทยประเด็นท้าทายการบริหารอุดมศึกษาไทย • จะก้าวทันความก้าวหน้าทางวิทยาการอย่างไร? • จะคงชื่อเสียงของสถาบันในด้านใดและอย่างไร? • จะผลิตบัณฑิตแบบใด? • จะเป็นที่พึ่งของประเทศชาติอย่างไร? • จะบริหารจัดการด้านบุคคลอย่างไร? • จะบริหารจัดการด้านการเงินอย่างไร?

  21. จะก้าวทันความก้าวหน้าทางวิทยาการอย่างไร?จะก้าวทันความก้าวหน้าทางวิทยาการอย่างไร? • การพัฒนาปัจจัยพื้นฐานเพื่อติดตามความก้าวหน้าได้อย่างมีประสิทธิผล(ฐานข้อมูล อุปกรณ์ เทคโนโลยี) • การพัฒนาคณาจารย์ (วุฒิ การอบรม ดูงาน การวิจัย) • หลักสูตรที่ทันสมัย • นวัตกรรมการบริหารหลักสูตร เช่น สหสาขาวิชาเพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่

  22. จะสร้างและคงชื่อเสียงของในด้านใดและอย่างไรจะสร้างและคงชื่อเสียงของในด้านใดและอย่างไร • สาขาใดจะพัฒนาเพื่อเป็นแหล่งอ้างอิง • สาขาใดจะคงรักษาไว้ • สาขาใดล้าสมัยและไม่ต้องคงไว้ • จะจัดการสาขาวิชาที่รัฐไม่สนับสนุนอย่างไร • จะสร้างสาขาวิชาใหม่เพื่ออนาคตได้อย่างไร • ฯลฯ

  23. จะผลิตบัณฑิตแบบใด? • จะสร้างคนสำหรับยุคหน้าอย่างไร • จะกำหนดคุณสมบัติของบัณฑิตที่พึงประสงค์อย่างไร • จะทำให้บัณฑิตมีเอกลักษณ์พิเศษอย่างไร

  24. เป้าหมายการผลิตบัณฑิตเป้าหมายการผลิตบัณฑิต • บัณฑิตที่มีความรู้และทักษะที่ได้มาตรฐานในระดับนานาชาติและเหมาะสมกับสังคม • เสริมสร้างนักศึกษาให้เป็นบัณฑิตที่สามารถครองตนอย่างมีคุณธรรมและเป็นผู้นำสังคมได้ • บัณฑิตมีคุณลักษณะที่เหมาะสมสำหรับการพัฒนาสังคมและประเทศในยุคต่อไป

  25. ทักษะและคุณสมบัติที่พึงประสงค์ในบัณฑิตทักษะและคุณสมบัติที่พึงประสงค์ในบัณฑิต • ภาษา: ภาษาไทย อังกฤษและภาษาอื่น • ทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ • ทักษะการวิเคราะห์ข้อมูล/กระบวนการวิจัย • ทักษะทางคณิตศาสตร์และสถิติ • ความคิดที่เป็นสากล- ใช้มาตรฐานนานาชาติในการทำงานและมีความเข้าใจในวัฒนธรรมต่างชาติ

  26. ทักษะและคุณสมบัติที่พึงประสงค์ในบัณฑิตทักษะและคุณสมบัติที่พึงประสงค์ในบัณฑิต • การบริหารจัดการ – ทำงานเป็นทีม เป็นผู้นำและบริหารหน่วยงานได้ แก้ปัญหาได้ • ความคิดริเริ่ม – ค้นคว้าวิจัยเพื่อสร้างองค์ความรู้ได้ • การแข่งขัน – ทัดเทียมกับบัณฑิตประเทศอื่น(อย่างน้อยมหาวิทยาลัยชั้นนำในภูมิภาค)

  27. ทัศนคติที่พึงประสงค์ในบัณฑิตทัศนคติที่พึงประสงค์ในบัณฑิต • เป็นคนดี (ซื่อสัตย์ มีคุณธรรม) • สู้งาน (อดทน) • พัฒนาตนเอง (เรียนรู้ตลอดชีวิต) • เป็นพลเมืองดี (รู้หน้าที่ มีความรับผิดชอบ) • ปรับตัวเองได้ • มีมนุษยสัมพันธ์ • อุทิศตนให้งาน

  28. จะบริหารจัดการด้านบุคคลอย่างไร?จะบริหารจัดการด้านบุคคลอย่างไร? • การสร้างระบบบริหารบุคคลที่เหมาะสมและสามารถสนองวิสัยทัศน์และพันธกิจได้ • การปรับระบบพนักงานมหาวิทยาลัยเข้าสู่ระบบบริหารบุคคลใหม่ • การวางแผนบุคลากรของทุกหน่วยงาน

  29. จะบริหารจัดการด้านการเงินอย่างไร?จะบริหารจัดการด้านการเงินอย่างไร? • การเตรียมการเพื่อรองรับระบบการจัดสรรงบประมาณของรัฐแบบใหม่ • การหา unit cost ต่อหน่วยผลผลิต และต่อหน่วยกิจกรรม • การพัฒนาและการจัดการทรัพย์สินกายภาพ • การพัฒนาและการจัดการทรัพย์สินทางปัญญา • การวางแผนด้านการเงินของทุกหน่วยงาน

  30. อุดมศึกษาจะเป็นที่พึ่งของประเทศชาติอย่างไร? อุดมศึกษาจะเป็นที่พึ่งของประเทศชาติอย่างไร? • การบูรณาการองค์ความรู้เพื่อตอบยุทธศาสตร์ของประเทศ--สร้างนวัตกรรม • การสร้างองค์ความรู้เพื่อชี้นำสังคม • การสร้างคนที่สังคมและประเทศต้องการ—สาขาวิชา ทักษะ คุณสมบัติพื้นฐาน สร้างความรู้ใหม่ได้ เป็นพลเมืองที่ดี • ฯลฯ

  31. การบริหารอุดมศึกษาไทยสู่ความเป็นเลิศการบริหารอุดมศึกษาไทยสู่ความเป็นเลิศ • รู้โลก รู้ประเทศ รู้ตัวเอง • กำหนดวิสัยทัศน์และพันธกิจหลัก • กำหนดยุทธศาสตร์ของสถาบันอุดมศึกษา • สร้างกลยุทธและนำยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ • กิจกรรมกับงบประมาณ • ประเมินผลลัพธ์

  32. ประเด็นท้าทายการบริหารมหาวิทยาลัยประเด็นท้าทายการบริหารมหาวิทยาลัย ผู้บริหารจะตอบประเด็นท้าท้ายทั้งหมดแบบองค์รวมอย่างไร

  33. กรณีตัวอย่าง • การบริหารจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ช่วง 2547-2551

  34. ทิศทางของมหาวิทยาลัย วิสัยทัศน์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นแหล่งความรู้และแหล่งอ้างอิงของแผ่นดิน เพื่อเสริมสร้างคนและสังคมไทยให้พึ่งพาตนเองได้ แข่งขันได้ และร่วมมือได้อย่างทัดเทียมและยั่งยืน ในประชาคมโลก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

  35. พันธกิจ • สร้างบัณฑิตที่มีความรู้และทักษะที่ได้มาตรฐานในระดับนานาชาติและเหมาะสมกับสังคม • เสริมสร้างนิสิตให้เป็นบัณฑิตที่สามารถครองตนอย่างมีคุณธรรมและเป็นผู้นำสังคมได้ • บุกเบิกองค์ความรู้ใหม่และบูรณาการองค์ความรู้เพื่อประโยชน์ของสังคมไทย • ถ่ายโอนองค์ความรู้กับสาธารณะเพื่อช่วยพัฒนาสังคมไทยไปสู่การพึ่งพาตนเองอย่างยั่งยืนในประชาคมโลก • ทำนุบำรุงและสืบสานศิลปวัฒนธรรม

  36. ยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัย • ยุทธศาสตร์ตามพันธกิจ • เป็นยุทธศาสตร์ที่มุ่งเน้นต่อการดำเนินงานของมหาวิทยาลัยตามพันธกิจที่ได้กำหนดไว้ • ยุทธศาสตร์การพัฒนาองค์กร • เป็นยุทธศาสตร์ในการพัฒนามหาวิทยาลัยให้มีความทันสมัย ที่สามารถสร้างผลผลิตตามพันธกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล • ยุทธศาสตร์การบูรณาการระหว่างศาสตร์ • เป็นยุทธศาสตร์ในการพัฒนาองค์ความรู้ เพื่อให้มหาวิทยาลัยได้เป็นแกนหลักในการเสริมสร้างองค์ความรู้ และเป็นที่พึ่งพิงทางวิชาการให้แก่สังคมและประเทศ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

  37. ยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ของมหาวิทยาลัยยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ของมหาวิทยาลัย ยุทธศาสตร์ตามพันธกิจ กลยุทธ์ที่ 1การเสริมสร้างความแข็งแกร่งทางวิชาการและวิจัย ทั้งใน ศาสตร์เดียวกัน และการบูรณาการระหว่างศาสตร์ กลยุทธ์ที่ 2การทำให้บัณฑิตของจุฬาฯ มีคุณภาพ และมีเอกลักษณ์ กลยุทธ์ที่ 3การเพิ่มบทบาทของจุฬาฯ ในสังคมประเทศไทย และนานาชาติ กลยุทธ์ที่ 4ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ยุทธศาสตร์การพัฒนาองค์กร กลยุทธ์ที่ 1การสร้างธรรมาภิบาลในการบริหาร กลยุทธ์ที่ 2การพัฒนาระบบบริหารบุคคลของจุฬาฯ กลยุทธ์ที่ 3การพัฒนาระบบกายภาพของมหาวิทยาลัย กลยุทธ์ที่ 4การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารและการบริหารวิชาการ กลยุทธ์ที่ 5การประชาสัมพันธ์เชิงรุก กลยุทธ์ที่ 6การแสวงหารายได้ • ยุทธศาสตร์การบูรณาการระหว่างศาสตร์ • มหาวิทยาลัยจะมีการพัฒนาและสร้างองค์ความรู้ ผ่านทางการบูรณาการเพื่อนำไปสู่เป้าหมาย 3 ประการ ได้แก่ • คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น (Better Life) • สังคมที่ดีและน่าอยู่ขึ้น (Better Place to Live) • ความสามารถในการแข่งขันสูงขึ้น (Better Competitiveness) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

  38. วิสัยทัศน์: เป็นแหล่งความรู้ และอ้างอิงของแผ่นดินฯ ผลิตบัณฑิตที่มี คุณภาพ ผลิตบัณฑิตที่สามารถ ครองตนอย่างมีคุณธรรม บุกเบิกองค์ความรู้ ใหม่ ถ่ายโอนความรู้ สู่สาธารณะ ทำนุบำรุงและ สืบสานศิลปวัฒนธรรม บัณฑิตของจุฬาฯ มีคุณภาพและเอกลักษณ์ เพิ่มบทบาทของจุฬาฯ ในสังคมปท.ไทย และนานาชาติ ทำนุบำรุงศิลป วัฒนธรรม การดูแล รักษา พัฒนา สถานที่ ทรงคุณค่า จัดกิจกรรม อย่างต่อเนื่อง เชื่อมโยงกับ ภูมิภาค/นานาชาติ Student Competency Distance Education เชื่อมโยงกับ ธุรกิจ/อุตสาหกรรม นิสิตมีส่วนร่วม ในกิจกรรม ศิลปวัฒนธรรม มากขึ้น ผสมผสานศิลป วัฒนธรรม เข้ากับการเรียน การสอน Activity Transcript เชื่อมโยง ยุทธศาสตร์ ของประเทศ เชื่อมโยงกับ ชุมชน/ท้องถิ่น การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ การประชาสัมพันธ์เชิงรุก การพัฒนาระบบกายภาพ ICT Master Plan ระบบกลางในการปชส. Learning Center Single Database การปชส.ภายใน Green Campus Single Datawarehouse IT/IS for Distance Education ขั้นตอนและกระบวนการ พัฒนาระบบกายภาพ Branding การปชส.วิชาการ ปรับระบบจราจร การสร้างธรรมาภิบาลในการบริหาร การพัฒนาระบบบริหารบุคคล Bus Intelligence & CU Operation Center ปรับปรุงระบบพนง. ระบบบริหารบุคคลสำหรับอนาคต ปรับภาระอาจารย์ QA & RM ระบบ AIS ปรับขั้นตอนการบริหาร เสริมสร้างความแข็ง แกร่งทางวิชาการและวิจัย สนับสนุน CE และ RU วิจัยบูรณาการ ลดขั้นตอนการ บริหารวิชาการ การทำงานร่วมกัน ระหว่างอาจารย์ต่าง ศาสตร์และระหว่าง อาจารย์กับนิสิต รูปแบบ โครงสร้าง และหลักสูตรใหม่ๆ การแสวงหารายได้ การปรับแนวคิด หารายได้จากพท.เช่า ใช้ประโยชน์จาก Knowledge Services การระดมความร่วมมือ จากนิสิตเก่า การจัดการทรัพย์สิน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

  39. กระบวนการบริหารยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยกระบวนการบริหารยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การปรับเปลี่ยนกลยุทธ์และมาตรการ ให้สอดคล้องกับสภาวการณ์ต่างๆ ยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ของจุฬาฯ แนวทางและมาตรการในการปฏิบัติ พร้อมทั้งตัวชี้วัดผลการดำเนินงานและเป้าหมาย การติดตามและรายงานผล การดำเนินงาน การเชื่อมโยงกับงบประมาณ การดำเนินงานตามมาตรการที่กำหนด จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

  40. ยุทธศาสตร์ตามพันธกิจ • กลยุทธ์ที่ 1การเสริมสร้างความแข็งแกร่งทางวิชาการและวิจัย ทั้งใน ศาสตร์เดียวกัน และการบูรณาการระหว่างศาสตร์ • กลยุทธ์ที่ 2การทำให้บัณฑิตของจุฬาฯ มีคุณภาพ และมีเอกลักษณ์ • กลยุทธ์ที่ 3การเพิ่มบทบาทของจุฬาฯ ในสังคมประเทศไทย และนานาชาติ • กลยุทธ์ที่ 4ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

  41. กลยุทธ์ที่ 1 การเสริมสร้างความแข็งแกร่งทางวิชาการและวิจัย ทั้งในศาสตร์เดียวกัน และการบูรณาการระหว่างศาสตร์ • โครงการวิจัยบูรณาการขนาดใหญ่รวมทั้งการสนับสนุน Center of Excellence และ Research Unit อย่างต่อเนื่อง • การพัฒนารูปแบบ โครงสร้าง และหลักสูตรใหม่ๆ เพื่อเสริมสร้างความแข็งแกร่งทางวิชาการ • การพัฒนาระบบการทำงานวิชาการ / วิจัย ร่วมกันระหว่างอาจารย์ต่างศาสตร์ และระหว่างอาจารย์กับนิสิตให้เข้มแข็ง • การกระจายอำนาจและลดขั้นตอนในการบริหารวิชาการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

  42. กลยุทธ์ที่ 2 การทำให้บัณฑิตของจุฬาฯ มีคุณภาพ และมีเอกลักษณ์ • พัฒนาสมรรถนะ (General Competency) และคุณลักษณะพิเศษ (Uniqueness Competency) ของบัณฑิตจุฬาฯ ทั้งในระดับปริญญาบัณฑิต และบัณฑิตศึกษา ด้วยการพัฒนาวิชาและกิจกรรมที่เสริมสร้างสมรรถนะ คุณลักษณะที่พึงมี จรรยาบรรณ และคุณธรรมของนิสิต ความรู้ และความเข้าใจเกี่ยวกับสังคม รวมทั้งการเตรียมความพร้อมสำหรับการทำงานและการเป็นสมาชิกที่มีคุณภาพของสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

  43. กลยุทธ์ที่ 3 การเพิ่มบทบาทของจุฬาฯ ในสังคมประเทศไทย และนานาชาติ • การเพิ่มทางเลือกและการขยายโอกาสทางการศึกษาด้วย Distance Education • การสร้างความเชื่อมโยงระหว่างยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัย และยุทธศาสตร์ของประเทศ • การเสริมสร้าง ความเชื่อมโยงระหว่างมหาวิทยาลัย กับ • ชุมชน และท้องถิ่น (Local / CommunityLinkage) • ธุรกิจ และอุตสาหกรรม (Industry Linkage) • ภูมิภาค และนานาชาติ (Regional / Global Linkage) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

  44. กลยุทธ์ที่ 4 ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม • การจัดกิจกรรมด้านศิลปวัฒนธรรมอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ศิลปวัฒนธรรมเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตมหาวิทยาลัย • การดูแล รักษา พัฒนา สถานที่ทรงคุณค่าทางศิลปวัฒนธรรมของจุฬาฯ • การผสมผสานศิลปวัฒนธรรมเข้ากับการเรียนการสอน • การสร้างกลไกให้นิสิตมีส่วนร่วมในกิจกรรมด้านศิลปวัฒนธรรมมากขึ้น จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

  45. ยุทธศาสตร์การพัฒนาองค์กรยุทธศาสตร์การพัฒนาองค์กร • กลยุทธ์ที่ 1การสร้างธรรมาภิบาลในการบริหาร • กลยุทธ์ที่ 2การพัฒนาระบบบริหารบุคคล • กลยุทธ์ที่ 3การพัฒนาระบบกายภาพ • กลยุทธ์ที่ 4การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารและการบริหารวิชาการ • กลยุทธ์ที่ 5การประชาสัมพันธ์เชิงรุก • กลยุทธ์ที่ 6การแสวงหารายได้ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

  46. กลยุทธ์ที่ 1 การสร้างธรรมาภิบาลในการบริหาร โดยพัฒนาระบบการบริหารที่คล่องตัว กระจายอำนาจ และตรวจสอบได้ • การพัฒนาระบบสารสนเทศทาง บัญชี การเงิน งบประมาณ ในระบบอิเล็กทรอนิกส์ • การปรับขั้นตอนและกระบวนการในงานบริหารให้กระชับและรวดเร็ว เช่น การบริหารงานพัสดุ การคลัง เป็นต้น • การปรับปรุงกระบวนการและกิจกรรมคุณภาพ และพัฒนาระบบบริหารความเสี่ยง • การนำระบบการบริหารสมัยใหม่ เช่น Business Intelligence และ CU Operation Center มาใช้ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

  47. กลยุทธ์ที่ 2 การพัฒนาระบบบริหารบุคคลของจุฬาฯ ให้สามารถแสวงหา ดูแลรักษา และพัฒนาบุคลากรอย่างมีคุณภาพ • การปรับปรุงระบบพนักงานมหาวิทยาลัย • การพัฒนาระบบบริหารบุคคล เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงในอนาคต • การปรับภาระงานของอาจารย์ที่เอื้อต่อการทำงานระหว่างศาสตร์ และสร้างเสริมการมีส่วนร่วมในการพัฒนานิสิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

  48. กลยุทธ์ที่ 3 การพัฒนาระบบกายภาพ • การปรับระบบกายภาพของมหาวิทยาลัย – คณะ ให้เป็นมหาวิทยาลัยสีเขียว (Green Campus) • การปรับพื้นที่ของมหาวิทยาลัย เพื่อให้มีพื้นที่รองรับกิจกรรมของนิสิตและบุคลากรมากขึ้น เช่น Student / Learning Center การก่อสร้างอาคารจามจุรี 6 หรือ การสร้าง Learning Center • การปรับระบบการจราจร และที่จอดรถภายในมหาวิทยาลัย • การปรับขั้นตอนและกระบวนการพัฒนาระบบกายภาพของมหาวิทยาลัยและคณะ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

  49. กลยุทธ์ที่ 4 การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ • การพัฒนา ICT Master Plan • การบูรณาการฐานข้อมูลที่มีอยู่ เพื่อสร้าง Single Datawarehouse เช่น ฐานข้อมูลเพื่อบริหารวิชาการ ฐานข้อมูลกายภาพ เป็นต้น • พัฒนา Single Database เพื่อการบริหาร • การพัฒนาระบบเพื่อรองรับ Distance Education จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

  50. กลยุทธ์ที่ 5 การประชาสัมพันธ์เชิงรุก • การพัฒนาระบบกลางในการประชาสัมพันธ์สู่ภายนอก • การปรับปรุงระบบการประชาสัมพันธ์ และสื่อสารข้อมูลภายใน • การประชาสัมพันธ์วิชาการและผลงานของมหาวิทยาลัย ทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย • การรักษาภาพลักษณ์ของมหาวิทยาลัยอย่างมีกระบวนการและต่อเนื่อง (Branding) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

More Related