1 / 19

Supply Chain การปลูกถั่วเขียวผิวมัน (ฤดูแล้ง) ของสมาชิกสหกรณ์การเกษตรหนองไผ่ จำกัด

Supply Chain การปลูกถั่วเขียวผิวมัน (ฤดูแล้ง) ของสมาชิกสหกรณ์การเกษตรหนองไผ่ จำกัด. Supply Chain การปลูกถั่วเขียวผิวมัน (ฤดูแล้ง) ของสมาชิกสหกรณ์การเกษตรหนองไผ่ จำกัด. 1. 2. 3. 4. 5. 6. การเตรียม แปลง. การจัดหา เมล็ดพันธุ์. การปลูก. การดูแลรักษา.

cianna
Download Presentation

Supply Chain การปลูกถั่วเขียวผิวมัน (ฤดูแล้ง) ของสมาชิกสหกรณ์การเกษตรหนองไผ่ จำกัด

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Supply Chain การปลูกถั่วเขียวผิวมัน (ฤดูแล้ง) ของสมาชิกสหกรณ์การเกษตรหนองไผ่ จำกัด

  2. Supply Chain การปลูกถั่วเขียวผิวมัน (ฤดูแล้ง) ของสมาชิกสหกรณ์การเกษตรหนองไผ่ จำกัด 1 2 3 4 5 6 การเตรียม แปลง การจัดหา เมล็ดพันธุ์ การปลูก การดูแลรักษา การเก็บเกี่ยวและการเก็บรักษา การจำหน่าย การเตรียมดิน 6.1 5.1 1.1 คัดเลือกเมล็ดพันธุ์ที่ปลูก การเตรียม เมล็ดพันธุ์ การกำจัดโรคและแมลง การเก็บเกี่ยว การจำหน่ายให้สหกรณ์ 4.1 2.1 3.1 5.2 4.2 วิธีการปลูก การใส่ปุ๋ย การปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยว การจำหน่ายให้พ่อค้า 6.2 3.2 4.3 การให้น้ำ การเก็บรักษา 5.3

  3. การวิเคราะห์หน้าที่ทางธุรกิจในโซ่อุปทานการวิเคราะห์หน้าที่ทางธุรกิจในโซ่อุปทาน ส่วนของสมาชิก ส่วนของสหกรณ์ ส่วนของพ่อค้า การบริหารการปลูกถั่วเขียว โรงสีที่กรุงเทพ การปลูกถั่วเขียว การทำการตลาด ให้ความรู้เรื่องถั่วเขียว รวบรวมผลผลิต การเตรียมการก่อนปลูก ผลลัพธ์ทางการเงิน การให้เงินทุน ผู้บริโภค จำหน่ายเมล็ดถั่วเขียว ขายพ่อค้า/กรุงเทพ การปลูกและการดูแลรักษา จัดหาเมล็ดพันธุ์ถั่วเขียว เตรียมดิน รับเงิน การเตรียมเมล็ดพันธุ์ จัดหาปัจจัยการผลิตถั่วเขียว คัดเลือกเมล็ดพันธุ์ การปลูก จัดหาเครื่องมือทางการเกษตรไว้บริการสมาชิก จัดหาที่เก็บรักษาถั่วเขียว การกำจัดโรค และแมลง การใสปุ๋ย เงินทุน การให้น้ำ การเก็บเกี่ยว การปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยว การเก็บรักษา

  4. แผนธุรกิจ ของสหกรณ์การเกษตรหนองไผ่ จำกัด

  5. การจัดทำแผนธุรกิจสหกรณ์ของการจัดทำแผนธุรกิจสหกรณ์ของ สหกรณ์การเกษตรหนองไผ่ จำกัด ............................. 1. โครงสร้างองค์กร(เฉพาะธุรกิจ) หน้าที่ความรับผิดชอบเป็นไปตามระเบียบของสหกรณ์ -นางเงิน เพียเดช ตำแหน่งผู้จัดการ 1.1 ธุรกิจสินเชื่อ ชื่อ นางกาญจนา วันเมือง ตำแหน่งหัวหน้าสินเชื่อ จำนวนเจ้าหน้าที่ในฝ่าย 3 คน 1.2 ธุรกิจรับฝากเงิน ชื่อ นางลักขณา ทองแก้ว ตำแหน่งหัวหน้าการเงิน-บัญชี จำนวนเจ้าหน้าที่ในฝ่าย 5 คน 1.3 ธุรกิจจัดหาสินค้ามาจำหน่าย ชื่อ นายพยุงชัย สวัสดิ์นะที ตำแหน่งเจ้าหน้าที่การตลาด จำนวนเจ้าหน้าที่ในฝ่าย 2 คน 1.4 ธุรกิจรวบรวมผลิตผล ชื่อ นางเงิน เพียเดช ตำแหน่งผู้จัดการ ชื่อ นายกิตติชัย ทรายฮวด ตำแหน่งเจ้าหน้าที่การตลาด จำนวนเจ้าหน้าที่ในฝ่าย 2 คน

  6. 2. แผนธุรกิจของสหกรณ์ 2.1 แผนธุรกิจสินเชื่อ หน่วย :ล้านบาท 2.2 แผนธุรกิจรับฝากเงิน หน่วย :ล้านบาท

  7. 2.3 แผนธุรกิจจัดหาสินค้ามาจำหน่าย ล้าน : บาท 2.4 แผนธุรกิจรวบรวมผลผลิต ล้าน : บาท

  8. 1.1 การเตรียมดิน หลักวิชาการ 1. ไถด้วยผาลสาม 1 ครั้ง ตากดิน 7-10 วัน แล้วพรวนด้วยผาลเจ็ด 1 ครั้ง ปรับระดับ ดินให้สม่ำเสมอ 2. คราดเก็บเศษซาก รากเหง้า หัวไหล ของ วัชพืชออกจากแปลง ที่มา : www.riclib.nrct.go.th สมาชิก/สหกรณ์ปฏิบัติ 1.ไถดิน และตากดินที่ไถไว้ให้แห้ง ประมาณ 1 -2 แดด ค่าจ้างไถ 250 บาท/ไร่ 2.เก็บเศษวัชพืชในดินออกให้หมด 3.ให้น้ำในดิน พอให้ดินเปียกหมาด ๆ -ค่าจ้างคนสูบน้ำใส่ 50 บาท/ไร่ -ใช้เครื่องสูบน้ำตัวเอง เติมน้ำมันดีเซล 50 บาท/ไร่ 4. แรงงานในครัวเรือน 5.จ้างแรงงานในการไถดิน/สูบน้ำ

  9. 2.1 คัดเลือกเมล็ดพันธุ์ที่ปลูก หลักวิชาการ พันธุ์ถั่วเขียวผิวมันที่ได้รับการรับรอง สามารถ ต้านทานโรคต่าง ๆ เหมาะสมที่จะปลูกได้ในฤดูแล้ง และ ปลูกในเขตที่ไม่มีชลประทาน มีดังนี้ 1. พันธุ์กำแพงแสน 2 ต้านทานต่อโรคใบจุดและ ราแป้งค่อนข้างสูง ให้ผลผลิต 193 ก.ก/ไร่ อายุเก็บเกี่ยว 65-75 วัน 2. พันธุ์ชัยนาท 36 ต้านทานต่อโรคใบจุดสีน้ำตาล ปานกลาง ให้ผลผลิต 216 ก.ก./ไร่ อายุเก็บเกี่ยว 67 วัน ที่มา : www.riclib.nrct.go.th สมาชิก/สหกรณ์ปฏิบัติ - พันธุ์กำแพงแสน 2 ซึ่งสามารถปลูกได้ทุก ฤดูกาล และเหมาะสมกับสภาพพื้นที่เพาะปลูก ของอำเภอหนองไผ่ ที่ไม่ได้เป็นเขตชลประทาน

  10. 3.1 การเตรียมเมล็ดพันธุ์ หลักวิชาการ 1.จากแหล่งและแปลงที่ไม่มีโรคระบาด ปราศจากร่องรอยการทำลายของโรคและแมลง 2.เมล็ดพันธุ์มีความงอกไม่ต่ำกว่า 80 เปอร์เซ็นต์ 3.ใช้เมล็ดพันธุ์ 5 ก.ก./ไร่ คลุกกับเชื้อไรโซเบียน 200 กรัม แล้วปลูกทันที ที่มา : www.riclib.nrct.go.th สมาชิก/สหกรณ์ปฏิบัติ • เลือกเมล็ดพันธุ์ที่สมบูรณ์ ผิวเป็นมันไม่เป็นถั่วหิน ไม่มีสีอื่นเจือปน จำนวน 10-13 ก.ก./ไร่ ซื้อเมล็ดพันธุ์ถั่วเขียว ถังละ 500 บาท

  11. 3.2 วิธีการปลูก หลักวิชาการ • ปลูกแบบหว่าน กรณีดินมีความชื้น ทำการหว่านเมล็ดอัตรา 5-7 ก.ก./ไร่ แล้วพรวนดินกลบทันที กรณีดินไม่มีความชื้น ควรให้นำก่อนแล้วทิ้งไว้จนดินหมาด แล้วจึงไถพรวนและหว่านเมล็ดแล้วพรวนดินกลบ • ปลูกเป็นแถว ระยะปลูก 50*20 ซ.ม. หยอดเมล็ด 2-3 เมล็ด/หลุม เมื่อถั่วเขียวมีอายุ 7-10 วัน ถอนแยกให้เหลือ 2 ต้น/หลุม ที่มา : www.riclib.nrct.go.th สมาชิก/สหกรณ์ปฏิบัติ ปลูกแบบหว่าน 1.ใช้เครื่องหว่าน ใช้น้ำมัน 1 ลิตร หว่านได้ 10 ไร่ 2.ใช้คนหว่าน ค่าจ้างหว่าน ไร่ละ 100 บาท 3.รถแทรกเตอร์ตีดิน เพื่อกลบเมล็ด ถั่ว ค่าจ้าง ไร่ละ 200 บาท

  12. 4.1 การกำจัดโรคและแมลง หลักวิชาการ ตรวจสอบโรคและแมลงศัตรูของถั่วเขียวทุกสัปดาห์ เมื่อตรวจพบให้ป้องกันกำจัดตามความเหมาะสม 1.โรคราแป้ง พบมากในช่วงอากาศแห้งและเย็น พ่นเบโนมิลเมื่ออายุ 30 วัน และพ่นซ้ำเมื่อตรวจพบโรค 2.โรคเน่าดำ ควรคลุกไทโอฟาเนตกับเมล็ดพันธุ์ก่อนปลูก 3.โรครากเน่าโคนเน่า ควรคลุกเมทาแลกซิลกับเมล็ดพันธุ์ก่อนปลูก 4.หนอนแมลงวันเจาะลำต้น พ่นไตรอะโซฟอส หลังจากงอก 7-10 วัน และ พ่นซ้ำอีก 1-2 ครั้ง ห่างกัน 7 วัน 5.เพลี้ยไฟ พ่นคาร์โบซัลแฟนเมื่อพบเพลี้ยไฟทำลายใบ ดอก ฝักอ่อน ควร พ่น 1-2 ครั้ง ห่างกัน 7-10 วัน 6.เพลี้ยอ่อน พ่นาร์โบซัลแฟนเมื่อพบเพลี้ยอ่อนระบาด ควรพ่น 1-2 ครั้ง ห่างกัน 7-10 วัน 7.ด้วงถั่วเขียว พบในช่วงการเก็บรักษาเมล็ดถั่วเขียว ก่อนเก็บ รมด้วยสาร อลูมิเนียมฟอสไฟด์ 5-7 วัน สมาชิก/สหกรณ์ปฏิบัติ 1. เมื่อต้นถั่วงอกประมาณ 15-20 วัน -ฉีดยาฆ่าเชื้อรา 1 ขวด/10 ไร่ 220 บาท -ฉีดยากำจัดหนอน 350 บาท/1 ขวด 2. ดูแลหลังจากนั้น ทุก 7-15 วัน จนเก็บเกี่ยว ให้ยาเช่นเดิม แต่มากน้อยตามความจำเป็นที่ถั่วเขียวเป็น หรือหากถั่วเขียวไปเป็นโรคใด ๆ ไม่จำเป็นต้องให้ยา

  13. 4.2 การใส่ปุ๋ย หลักวิชาการ • ใส่ปุ๋ยเคมีสูตร 12-24-12 อัตรา 20-30 ก.ก/ไร่ รองก้นหลุมก่อนปลูก หรือโรยข้างแถวหลังถั่วเขียวงอก 10-14 วัน แล้วพรวนดินกลบในกรณีที่ปลูกแบบหว่าน ใส่ปุ๋ยแบบหว่านพร้อมกับการเตรียมดิน ที่มา : www.riclib.nrct.go.th สมาชิก/สหกรณ์ปฏิบัติ • ให้ปุ๋ยฮอร์โมนน้ำ ทุก 15-20 วัน จนกว่าจะเก็บเกี่ยว ปุ๋ยน้ำ 1 ขวด ราคา 3,000 บาท

  14. 4.3 การให้น้ำ สมาชิก/สหกรณ์ปฏิบัติ • ให้น้ำตอนเตรียมดินครั้งเดียวและให้ต้นถั่วเขียวอาศัยความชื้นจากน้ำค้างเท่านั้น หลักวิชาการ • 1.ให้น้ำทันทีหลังปลูก และหลังการใส่ปุ๋ยทุก • ครั้ง หลังจากนั้นให้น้ำทุก 10-14 วัน • 2.อย่าให้ถั่วเขียวขาดน้ำในช่วงปลายระยะออก • ดอกจนถึงติดฝัก • 3.ในกรณีที่มีน้ำจำกัด ควรใช้วัสดุ เช่น ฟาง • ข้าวคลุมดิน เพื่อลดความรุนแรงของการ • ขาดน้ำ • ที่มา : www.riclib.nrct.go.th

  15. 5.1 การเก็บเกี่ยว สมาชิก/สหกรณ์ปฏิบัติ 1.เมื่อฝักถั่วครบ 60-65 วัน เก็บโดยใช้ รถเกี่ยวหรือคนเก็บ ซึ่งหากใช้รถเกี่ยว จะได้เมล็ดถั่วเลย โดยไม่ต้องไปสีถั่ว แต่มีข้อเสียคือจะมีสิ่งเจือปนมากอาจ ทำให้ราคาของถั่วเขียวตกได้ ราคา ค่าจ้างรถเกี่ยว 500 บาท/ไร่ คนเก็บ ค่าจ้าง 5 บาท/ไร่ 2.หากใช้คนเก็บ จะนำฝักถั่วที่เก็บใส่ กระสอบไปสีที่พ่อค้าก่อนส่งสหกรณ์ หลักวิชาการ 1.ใช้มือปลิดฝักแก่ที่เปลี่ยนเป็นสีดำ ถั่วเขียวผิวมันเป็นพืชที่มีการสุกแก่ของฝักไม่พร้อมกัน โดยเก็บเกี่ยว 2 ครั้ง ครั้งแรกเมื่อถั่วเขียวมีฝักสุกแก่ 80 เปอร์เซ็นต์ และครั้งที่ 2 หลังจากเก็บเกี่ยวครั้งแรก 14 วัน ที่มา : www.riclib.nrct.go.th

  16. 5.2 การปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยว สมาชิก/สหกรณ์ปฏิบัติ 1.ปูผ้า นำเมล็ดถั่วหรือฝักถั่วที่เก็บเกี่ยว มาตาก ประมาณ 1 แดด 3-5 ชั่วโมง โดยเกลี่ยให้สม่ำเสมอทั่วกัน 2.บรรจุฝักถั่วหรือเมล็ดถั่วลงในกระสอบ ป่านที่สะอาด หลักวิชาการ 1.นำฝักถั่วเขียวไปผึ่งแดด เพื่อให้ความชื้นฝัก และเมล็ดลดลงเหลือ 11-13 เปอร์เซ็นต์ 2.นำฝักถั่วเขียวเข้าเครื่องกะเทาะฝักที่มี ความเร็วรอบ 550 รอบต่อนาที 3.นำเมล็ดที่นวดได้ทำความสะอาดด้วยวิธีร่อน และฝัด แล้วนำไปผึ่งแดดเพื่อลดความชื้นให้ เหลือประมาณ 11-12 เปอร์เซ็นต์ ที่มา : www.riclib.nrct.go.th

  17. 5.3 การเก็บรักษา สมาชิก/สหกรณ์ปฏิบัติ • เก็บไว้ในที่แห้ง ไม่มีความชื้น • กำจัดแมลง นก หนู ที่จะเข้ามากินเมล็ดถั่ว หลักวิชาการ • - โรงเก็บต้องสะอาด อากาศถ่ายเทได้ดี • ไม่มีแมลง หนู หรือสัตว์อื่น ๆ เข้า • รบกวน หาวัสดุรองกระสอบป่าน เช่น • ไม้ไผ่ หรือแคร่ • ที่มา : www.riclib.nrct.go.th

  18. 6.1 การจำหน่ายให้สหกรณ์ หลักวิชาการ • - เงื่อนไขการรับซื้อเมล็ดถั่วเขียว ให้เป็นไปตามระเบียบว่าด้วยการรวบรวมผลิตผลทางการเกษตร และการกำหนดคุณลักษณะเพื่อกำหนดราคารับซื้อ ได้แก่ ความชื้นไม่เกิน 12% สิ่งเจือปน ไม่เกิน 2% และขนาดของเมล็ดถั่ว และราคาจะอิงราคาตามท้องตลาดทั่วไป (ปัจจุบัน 450 บาท/ถัง) สมาชิก/สหกรณ์ปฏิบัติ 1.สมาชิกนำฝักเมล็ดถั่วไปสีที่เครื่องสีถั่วที่ พ่อค้า กระสอบละ 50-80 บาท 2.นำไปจำหน่ายที่จุดรับซื้อของสหกรณ์ 3.สหกรณ์ตรวจสอบคุณภาพของเมล็ดถั่ว ตามเงื่อนไข เพื่อกำหนดราคา 4.สหกรณ์ชำระค่าเมล็ดถั่วเป็นเงินสดทันที 5.สหกรณ์จ้างรถบรรทุก เพื่อขนส่งเมล็ดถั่ว เขียวไปยังจุดรับซื้อเมล็ดถั่วของสหกรณ์ เพื่อนำไปแปรรูป ได้แก่ โรงสีในกรุงเทพ และโรงสีแถบชายแดน ในอัตราค่าจ้างในการ ขนส่ง ตันละ 350 บาท

  19. 6.2 การจำหน่ายให้พ่อค้า หลักวิชาการ ตามที่พ่อค้ากำหนด สมาชิก/สหกรณ์ปฏิบัติ 1.สมาชิกขนเมล็ดถั่วไปที่โรงสี 2.โรงสีตรวจสอบคุณภาพเพื่อกำหนดราคา 3.โรงสีจ่ายเงินให้สมาชิก

More Related