1 / 12

แนวทาง/เกณฑ์การจัดสรรงบกองทุนฯ ตามคุณภาพบริการ

แนวทาง/เกณฑ์การจัดสรรงบกองทุนฯ ตามคุณภาพบริการ. 25 พฤศจิกายน 2551 โรงแรมเจริญศรี แกรนด์ รอยัล จ.อุดรธานี. เกณฑ์การรายงานอาการไม่พึงประสงค์ด้านยา (ADR) เกณฑ์การดำเนินงานด้าน ยาความเสี่ยงสูง (High Alert Drug) เกณฑ์การดำเนินงานด้าน การประเมินคุณภาพการใช้ยา (DUE/DUR)

chuong
Download Presentation

แนวทาง/เกณฑ์การจัดสรรงบกองทุนฯ ตามคุณภาพบริการ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แนวทาง/เกณฑ์การจัดสรรงบกองทุนฯ ตามคุณภาพบริการ 25 พฤศจิกายน 2551 โรงแรมเจริญศรี แกรนด์ รอยัล จ.อุดรธานี

  2. เกณฑ์การรายงานอาการไม่พึงประสงค์ด้านยา(ADR) เกณฑ์การดำเนินงานด้าน ยาความเสี่ยงสูง (High Alert Drug) เกณฑ์การดำเนินงานด้าน การประเมินคุณภาพการใช้ยา (DUE/DUR) เกณฑ์การสนับสนุนการนำ รหัสมาตรฐานยา (National Drug Code) ไปใช้ เกณฑ์ด้านการใช้ยา Antibioticอย่างสมเหตุผล ตัวชี้วัดด้านคุณภาพระบบยา ในปี 2552 X

  3. เหตุผล ความจำเป็น การเกิดอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา (ADR) เป็นสาเหตุสำคัญหนึ่งของความเสียหายจากการบำบัดรักษา(Medical Injury) ซึ่งมีผลตั้งแต่การบาดเจ็บไปจนถึงการเสียชีวิตของผู้ป่วย และการสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล การรายงานอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ (Adverse Drug Reactions / events) เป็นส่วนหนึ่งของขั้นตอนการติดตามดูแล เพื่อรับทราบอุบัติการณและใชเปนขอมูลสะท้อนกลับที่นําไปสูการวิเคราะหสาเหตุและวิธีแกไขป้องกันภายในโรงพยาบาล การสร้างวัฒนธรรมเรื่องความปลอดภัย และสร้างความตื่นตัวในการพัฒนาระบบการรายงาน จึงควรสนับสนุนให้เกิดขึ้น เกณฑ์การรายงานอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา

  4. วัตถุประสงค์ เพื่อให้หน่วยบริการมีระบบการติดตามเฝ้าระวัง และป้องกันความปลอดภัย ด้านยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ มิติคุณภาพ เครื่องชี้วัดที่สะท้อนความปลอดภัยในการรับบริการ ( Safety ) เกณฑ์การรายงานอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา

  5. หลักเกณฑ์ในการให้คะแนน ปี 2552 ปรับปรุงให้เกิดคุณภาพการรายงานที่ดีขึ้น การกำหนดคะแนน แบ่งเป็น 2 ส่วน จากการประเมินเชิงระบบ (5 คะแนน) เปรียบเทียบจำนวนรายงานที่ส่งกับค่าเฉลี่ย ของรายงานของโรงพยาบาลแต่ละระดับ (5 คะแนน) เกณฑ์การรายงานอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา

  6. จาก แบบประเมินมาตรฐานความปลอดภัยด้านยาในโรงพยาบาล

  7. หลักเกณฑ์ในการให้คะแนน ปี 2552 เกณฑ์การรายงานอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา

  8. เกณฑ์การประเมินดำเนินงานด้าน ยาความเสี่ยงสูง (High Alert Drug)

  9. เกณฑ์การประเมินการดำเนินงานด้าน การประเมินคุณภาพการใช้ยา (DUE/DUR)

  10. หลักเกณฑ์ในการให้คะแนน ปี 2552 • การกำหนดคะแนน • จากการประเมินเชิงระบบ (5 คะแนน) ในยา 5 รายการ*คือ • Sulbactam+Cefoperazone sodium (Sulperazone sodium ) • Imipenem + Cilastatin sodium • Meropenem • Amoxicillin + Clavulanate • Piperacillin + Tazobactam • * ทำทุกรายการที่มีในโรงพยาบาล เกณฑ์ด้านการใช้ยา Antibiotic อย่างสมเหตุผล

  11. Question ?

More Related