230 likes | 601 Views
ส่วนอำนวยความเป็นธรรม. สำนักการสอบสวนและนิติการ. ศูนย์อำนวยความเป็นธรรมอำเภอ/กิ่งอำเภอ. นำเสนอโดย. ศูนย์อำนวยความเป็นธรรม.
E N D
ส่วนอำนวยความเป็นธรรมส่วนอำนวยความเป็นธรรม สำนักการสอบสวนและนิติการ ศูนย์อำนวยความเป็นธรรมอำเภอ/กิ่งอำเภอ นำเสนอโดย
ศูนย์อำนวยความเป็นธรรมศูนย์อำนวยความเป็นธรรม การอำนวยความเป็นธรรม ถือว่าเป็นภารกิจที่สำคัญประการหนึ่งของกรมการปกครองในการแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน ให้ได้รับความเป็นธรรม สังคมมีความสงบสุข ภายใต้กรอบหรือบทบัญญัติของกฎหมายเท่าเทียมกัน รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 พ.ร.บ. ปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการ ปค. พ.ศ. 2545
ความเป็นมา กรมการปกครอง ได้ดำเนินการจัดตั้งศูนย์อำนวยความเป็นธรรม ระดับอำเภอ/กิ่งอำเภอทั่วประเทศ เพื่อเป็นศูนย์กลางในการให้ความ ช่วยเหลือประชาชนที่ไม่ได้รับความเป็นธรรม แก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน ดำเนินการทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค
การแก้ไขปัญหาให้กับประชาชนจะแยกเป็นกรณีดังนี้การแก้ไขปัญหาให้กับประชาชนจะแยกเป็นกรณีดังนี้ ปัญหาที่อยู่ในความรับผิดชอบของกรมการปกครอง ปัญหาในความรับผิดชอบของหน่วยงานอื่น เช่น ปัญหาเรื่องที่ดิน ปัญหาสาธารณูปโภค การประนีประนอมไกล่เกลี่ยข้อพิพาททั้งทางแพ่งและทางอาญา ปัญหาอื่น ๆ ที่ประชาชนร้องขอ โดยอาจจะมาร้องขอด้วยตนเอง หรือส่งเป็นหนังสือ/จดหมายก็ได้
ความคืบหน้าในการดำเนินการจัดตั้งศูนย์ฯความคืบหน้าในการดำเนินการจัดตั้งศูนย์ฯ อำเภอ/กิ่งอำเภอ 876 แห่ง จัดตั้งศูนย์ฯ ครบทุกแห่ง จัดทำคู่มือกฎหมาย จัดซื้อประมวลกฎหมาย สนับสนุนค่าวัสดุเครื่องเขียนแบบพิมพ์ ให้อำเภอ/กิ่งอำเภอ ประชาสัมพันธ์
การอำนวยความเป็นธรรม ในหน้าที่ของฝ่ายปกครอง
การอำนวยความเป็นธรรมหมายถึงการอำนวยความเป็นธรรมหมายถึง “การช่วยเหลือประชาชนให้ได้รับความเป็นธรรมภายในกรอบของกฎหมาย โดยการปฏิบัติให้ทั้งฝ่ายผู้เสียหายและผู้ถูกกล่าวหาได้รับความเสมอภาค”
ปลัดอำเภอกับการอำนวยความเป็นธรรมปลัดอำเภอกับการอำนวยความเป็นธรรม 1. เป็นผู้ช่วยและผู้แนนายอำเภอ (พ.ร.บ.ลักษณะปกครองท้องที่ 2547 ม.66 (2) และ พ.ร.บ.บริหารราชการแผ่นดิน 2534 มาตรา 63) • มีอำนาจหน้ทาที่เช่นเดียวกับนายอำเภออยู่ในตัวเป็นปกติตามกฎหมาย (คำพิพากษา ฎีกาที่ 1037/2503) 3. เป็นพนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจ (ป.วิ.อ.ม.2(16)) 4. เป็นพนักงานสอบสวน (ป.วิ.อ.ม.18)
งานอำนวยความเป็นธรรมทางอาญาในหน้าที่ของฝ่ายปกครองงานอำนวยความเป็นธรรมทางอาญาในหน้าที่ของฝ่ายปกครอง 1. การสืบสวนสอบสวนคดีอาญา ความผิดอาญาซึ่งได้เกิดหรืออ้างหรือเชื่อว่าได้เกิดภายในเขตอำนาจ หรือผู้ต้องหามีที่อยู่ หรือถูกจับภายในเขตอำนาจของตน กรณีความผิดเกิดหลายท้องที่ 2. การสอบสวนเบื้องต้น ข้อบังคับ มท. ว่าด้วยระเบียบการดำเนินคดีอาญา พ.ศ. 2523 แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2525
งานอำนวยความเป็นธรรมทางอาญาในหน้าที่ของฝ่ายปกครองงานอำนวยความเป็นธรรมทางอาญาในหน้าที่ของฝ่ายปกครอง 3. การเข้าร่วมการสอบสวนและการควบคุมการสอบสวนในคดีอาญา ทั่วไป ข้อบังคับกระทรวงมหาดไทย ที่ 1/2509 ลงวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2509 ข้อ 13 คดีที่ข้าราชการต้องหาคดีอาญาเพราะได้กระทำการตามหน้าที่ หรืออ้างว่าได้กระทำตามหน้าที่ ข้อบังคับกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยระเบียบการดำเนินคดีอาญา พ.ศ. 2523 แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2525 ข้อ 4.3 ข้อบังคับกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการดำเนินคดีอาญา พ.ศ. 2523 แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2525 ข้อ 12.4 - 12.7
งานอำนวยความเป็นธรรมทางอาญาในหน้าที่ของฝ่ายปกครองงานอำนวยความเป็นธรรมทางอาญาในหน้าที่ของฝ่ายปกครอง 4. การควบคุมการสอบสวนคดีเกี่ยวกับป่าไม้และทรัพยากรของชาติอื่น ๆ เมื่อมีคดีอาญาเกี่ยวกับป่าไม้และทรัพยากรธรรมชาติในท้องที่ใด ให้หัวหน้าพนักงานสอบสวนในท้องที่นั้นรีบรายงานให้ปลัดอำเภอผู้เป็นหัวหน้าประจำกิ่งอำเภอ นายอำเภอ ผู้ว่าราชการจังหวัด แล้วแต่กรณี พิจารณาเห็นว่า ควรมีการตรวจสอบ ตรวจสอบกำกับดูแลการสอบสวน ในกรณีที่คดีเกิดขึ้นเป็นคดีใหญ่ หรือคดีสำคัญ ในกรณีที่พนักงานฝ่ายปกครองได้จับกุมหรือร่วมในการจับกุม
งานอำนวยความเป็นธรรมทางอาญาในหน้าที่ของฝ่ายปกครองงานอำนวยความเป็นธรรมทางอาญาในหน้าที่ของฝ่ายปกครอง 5. การสอบสวนคดีอาญาบางประเภท กฎหมายว่าด้วยการเก็บรักษาน้ำมันเชื้อเพลิง กฎหมายว่าด้วยการทะเบียนราษฎร์ กฎหมายว่าด้วยบัตรประจำตัวประชาชน กฎหมายว่าด้วยการควบคุมสุสานและฌาปนสถาน กฎหมายว่าด้วยภาษีบำรุงท้องที่ กฎหมายว่าด้วยภาษีป้าย กฎหมายว่าด้วยสาธารณสุข กฎหมายว่าด้วยภาษีโรงเรือนและที่ดิน กฎหมายว่าด้วยประถมศึกษา กฎหมายว่าด้วยสัตว์พาหนะ
งานอำนวยความเป็นธรรมทางอาญาในหน้าที่ของฝ่ายปกครองงานอำนวยความเป็นธรรมทางอาญาในหน้าที่ของฝ่ายปกครอง 6. การทำความเห็นแย้งพนักงานอัยการ ผู้ว่าราชการจังหวัดแย้งคำสั่งพนักงานอัยการ ให้ส่งสำนวนพร้อมกับความเห็นที่แย้งกันไปยังอัยการสูงสุดเพื่อชี้ขาด 7. คดีละเมิดกฎหมายท้องถิ่น ตามข้อบังคับกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการเปรีบเทียบและการสอบสวนคดีละเมิดข้อบัญญัติท้องถิ่น พ.ศ. 2547 ข้อบัญญัติท้องถิ่น หมายความถึง เทศบัญญัติ ข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด และข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนตำบล
งานอำนวยความเป็นธรรมทางอาญาในหน้าที่ของฝ่ายปกครองงานอำนวยความเป็นธรรมทางอาญาในหน้าที่ของฝ่ายปกครอง 8. การชันสูตรพลิกศพ กรณีความตายเกิดขึ้นจากการกระทำของเจ้าพนักงาน ซึ่งอ้างว่าปฏิบัติราชการตามอำนาจหน้าที่ หรืออยู่ในระหว่างการควบคุมของเจ้าพนักงาน ซึ่งอ้างว่าปฏิบัติราชการตามอำนาจหน้าที่ ผู้มีหน้าที่ชันสูตรพลิกศพ ได้แก่ พนักงานอัยการ พนักงานสอบสวน พนักงานฝ่ายปกครอง และแพทย์
งานอำนวยความเป็นธรรมในทางแพ่งในหน้าที่ของฝ่ายปกครองงานอำนวยความเป็นธรรมในทางแพ่งในหน้าที่ของฝ่ายปกครอง ตามมาตรา 61/161/2 และ 61/3 แห่ง พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน(ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2550 บัญญัติให้นายอำเภอมีหน้าที่ในการไกล่เกลี่ยหรือจัดให้มีการไกล่เกลี่ยประนอมข้อพิพาท และกำหนดให้มีคณะบุคคลผู้ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ยและประนอมข้อพิพาทของประชาชน โดยมีหลักเกณฑ์ดังนี้ 1. คู่กรณีฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งมีภูมิลำเนาอยู่ในเขตอำเภอ ในเรื่องที่พิพาททางแพ่ง เกี่ยวกับที่ดินมรดก 2. ข้อพิพาททางแพ่งอื่นที่มีทุนทรัพย์ไม่เกินสองแสนบาทหรือมากกว่านั้น 3. คู่พิพาทตกลงยินยอมให้ใช้วิธีการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท 4. สัญญาประนีประนอมยอมความมีผลผูกพันทั้งสองฝ่าย
5. หากฝ่ายใดไม่ปฏิบัติตามสัญญาประนีประนอมยอมความ อีกฝ่ายยื่นต่ออัยการ เพื่อยื่นต่อศาลให้ออกคำบังคับตามสัญญาประนีประนอมยอมความ 6. บรรดาความผิดที่มีโทษทางอาญาที่เกิดขึ้นในเขตอำเภอใดหากเป็นความผิดอันยอมความได้ และมิใช่เป็นความผิดเกี่ยวกับเพศ นายอำเภอสามารถไกล่เกลี่ยให้คู่กรณีตกลงประนีประนอมกันได้ ถ้าคู่กรณียินยอม ให้นายอำเภอเปรียบเทียบ
งานอำนวยความเป็นธรรมในทางแพ่งในหน้าที่ของฝ่ายปกครองงานอำนวยความเป็นธรรมในทางแพ่งในหน้าที่ของฝ่ายปกครอง 2. การประนีประนอมข้อพิพาทของคณะกรรมการหมู่บ้าน ตามข้อบังคับกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการปฏิบัติงานประนีประนอมข้อพิพาทของคณะกรรมการหมู่บ้าน พ.ศ.2530 กำหนดให้คณะกรรมการหมู่บ้าน ตามกฎหมายลักษณะปกครองท้องที่ หรือคณะกรรมการกลางหมู่บ้านอาสาพัฒนา และป้องกันตนเองทำการประนีประนอมข้อพิพาทให้กับประชาชน โดยระเบียบดังกล่าวได้กำหนดหลักเกณฑ์ไว้ดังนี้ 1. เป็นข้อพิพาทเกี่ยวกับความแพ่งหรือความอาญาที่เป็นความผิดอันยอมความกันได้ 2. คู่กรณีทั้งสองฝ่ายตกลงให้คณะกรรมการหมู่บ้านประนีประนอมข้อพิพาท 3. ข้อพิพาทเกิดขึ้นในหมู่บ้านหรือคู่กรณีฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งมีภูมิลำเนาในหมู่บ้านนั้น
สรุป การอำนวยความเป็นธรรมให้แก่ประชาชนจะประสบผลสำเร็จมากน้อยเพียงใด ขึ้นอยู่กับพนักงานเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานและประชาชนหรือคู่กรณีที่จะให้ความสนใจ แก้ไขปัญหาดังกล่าวอย่างจริงจัง ทั้งนี้ กรมการปกครองได้ดำเนินการในส่วนที่เกี่ยวข้อง ดังนี้ 1. ในส่วนของพนักงานเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน 2. ในส่วนของประชาชนหรือคู่กรณี