130 likes | 264 Views
โปรแกรมการทดสอบวัดความสามารถพื้นฐาน ทางการเรียนของนักศึกษา. รศ.ดร. จินตนา ธนวิบูลย์ชัย หัวหน้าโครงการ รศ.ดร.สิริรัตน์ วิภาสศิลป์ อ.ดร.สุนิสา จุ้ยม่วงศรี นายชูศักดิ์ ศิริรุ่งพันธ์.
E N D
โปรแกรมการทดสอบวัดความสามารถพื้นฐานทางการเรียนของนักศึกษาโปรแกรมการทดสอบวัดความสามารถพื้นฐานทางการเรียนของนักศึกษา รศ.ดร. จินตนา ธนวิบูลย์ชัย หัวหน้าโครงการรศ.ดร.สิริรัตน์ วิภาสศิลป์อ.ดร.สุนิสา จุ้ยม่วงศรีนายชูศักดิ์ ศิริรุ่งพันธ์
ปี 2543 มหาวิทยาลัยมีนโยบายให้วัด ความสามารถพื้นฐานของนักศึกษาใหม่ จัดสอบวันปฐมนิเทศนักศึกษา ปี 2548 ส่งแบบทดสอบทางไปรษณีย์ ความเป็นมาและความสำคัญของโครงการ
ปี 2550 แนวคิดสนองนโยบายมหาวิทยาลัย อิเล็กทรอนิกส์ ทำให้นักศึกษาเข้าสอบได้สะดวกทุกเวลา ทุกสถานที่ และทราบผลการสอบทันที นักศึกษาจะทราบแนวโน้มความสำเร็จในการศึกษา และข้อบกพร่องในการพัฒนาตนเอง มหาวิทยาลัยเห็นแนวทางการจัดการเรียนการสอน การบริหารจัดการที่ส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้
วิธีดำเนินงาน กำหนดคุณลักษณะสำคัญ การออกแบบโปรแกรม การพัฒนาโปรแกรม
การกำหนดคุณลักษณะสำคัญการกำหนดคุณลักษณะสำคัญ ศึกษาสภาพการทดสอบปัจจุบัน ศึกษาการประเมินผลผ่านระบบออนไลน์ กำหนดคุณลักษณะสำคัญของระบบ ทดสอบตามความต้องการของนักศึกษา สร้างข้อสอบไว้ในระบบคลังข้อสอบ สร้างแบบทดสอบโดยการสุ่ม ตรวจให้คะแนนอัตโนมัติ / บันทึกผลสอบ กำหนดลักษณะของระบบ 4 ระบบ และระบบย่อย (ระบบจัดการแบบทดสอบ ระบบการสอบ ระบบจัดการผลสอบ ระบบรักษาความปลอดภัย)
การออกแบบโปรแกรมออกแบบระบบคอมพิวเตอร์ของทั้ง 4 ระบบ การพัฒนาโปรแกรมระบบการสร้างข้อสอบWindows BaseระบบสอบWeb Base
ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม 1. ศึกษาการเขียนโปรแกรมบนเว็บ / สร้างหน้าจอ 2. คณาจารย์สร้างข้อสอบและใช้ข้อสอบจากคลังข้อสอบบางส่วน ด้านละ 4 ฉบับ ๆ ละ 20 ข้อ / กำหนดเกณฑ์การแปลความหมาย 3. บันทึกข้อสอบที่เป็นข้อความด้วย Microsoft Word ข้อสอบสมการ รูปภาพ กราฟ ตาราง ฯลฯ ใช้โปรแกรมเฉพาะ 4. สร้างแบบสอบถาม 5. นำโปรแกรมขึ้นเว็บไซต์มหาวิทยาลัย / ประชาสัมพันธ์ 6. ทดลองครั้งที่ 1 / ปรับปรุงแก้ไข 7. ประชาสัมพันธ์ /ทดลองครั้งที่ 2 8. สรุปผลการศึกษาโปรแกรม
ผลการทดลองใช้โปรแกรมครั้งที่ 1 ระดับความคิดเห็นปานกลาง เมื่อเข้าสู่ Web Site แล้วระบบขัดข้องบ่อยครั้ง จนสามารถเรียกข้อความช่วยเหลือได้เพียงพอ
ผลการทดลองใช้โปรแกรมครั้งที่ 2 ระดับความคิดเห็นปานกลาง เมื่อเข้าสู่ Web Site แล้วระบบขัดข้องบ่อยครั้ง สามารถโต้ตอบกับระบบได้อย่างสะดวก
สรุป สามารถดำเนินการได้ตามที่วิเคราะห์ระบบไว้ ผู้เข้าใช้ระบบสามารถเข้าใช้ได้ สามารถปรับปรุงแก้ไข Windows Application Configurationได้ การสร้างข้อสอบที่เป็นรูปภาพ สมการทางคณิตศาสตร์ แผนภูมิ ตาราง ฯลฯ ต้องใช้โปรแกรมเฉพาะและเวลา การเข้าสู่เว็บไซต์ยังมีความขัดข้องบ้าง การพัฒนาโปรแกรมนี้ต้องใช้เวลา และความพยายามสูง
ข้อเสนอแนะ ควรพัฒนาโปรแกรมการทดสอบอย่างต่อเนื่อง ควรพัฒนา Serverของมหาวิทยาลัยให้มีความพร้อม ควรพัฒนาระบบการสอบผ่านออนไลน์ ควรทำการประชาสัมพันธ์ให้นักศึกษาเข้ามาใช้ ควรใช้เป็นแนวทางในการประเมินผลสอบ ชุดวิชาแบบFormativeสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการให้บริการ สำหรับประชาชนทั่วไป