210 likes | 443 Views
“ลู่ทางการขยายตลาดการค้าการ ลงทุน และธุรกิจโลจิสติกส์ ในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง”. โดย ดร.ธนิต โสรัตน์ รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ประธานสภาธุรกิจ GMS ประเทศไทย. 1. AEC ทิศทางเศรษฐกิจประเทศไทย ตามแนวระเบียงเศรษฐกิจเหนือ-ใต้. 2. ปี 2553. ปี 255 8. ภาษี 0%. ลดภาษีตามลำดับ.
E N D
“ลู่ทางการขยายตลาดการค้าการ ลงทุน และธุรกิจโลจิสติกส์ ในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง” โดย ดร.ธนิต โสรัตน์ รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ประธานสภาธุรกิจ GMS ประเทศไทย 1
AECทิศทางเศรษฐกิจประเทศไทยตามแนวระเบียงเศรษฐกิจเหนือ-ใต้AECทิศทางเศรษฐกิจประเทศไทยตามแนวระเบียงเศรษฐกิจเหนือ-ใต้ 2
ปี 2553 ปี 2558 ภาษี 0% ลดภาษีตามลำดับ ภาษี 0% อาเซียน - 6 เวียดนาม ลาว พม่า กัมพูชา เศรษฐกิจไทยภายใต้ AEC ในปี 2015 เขตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนจุดเปลี่ยนประเทศไทย การเป็นฐานการผลิตร่วมกัน Customs Union & Co-Production “ ขจัดภาษีนำเข้าสินค้าทุกรายการ ” ส่งออกสินค้าไปอาเซียน ไม่ต้องเสียภาษีนำเข้า 3 ที่มา: กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ
AEC เป็นปัจจัยสำคัญที่สนับสนุนการค้าระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน (Intra-regional Trade) Export 2011 ASEAN 22.6% USA 11.4% JAPAN 10.8% มูลค่าการค้ารวมระหว่างไทย-อาเซียนสูงกว่ามูลค่าการค้ารวมระหว่างไทย-ญี่ปุ่น ไทย-EU และไทย-สหรัฐ ที่มา: กระทรวงพาณิชย์มูลค่าการค้าระหว่างประเทศปี 2010 4
GMS + AECAEC: จุดเปลี่ยนประเทศไทย จุดยืนของไทย รุกตลาดสินค้าที่ไทยได้เปรียบและขยายตลาดตามกรอบความร่วมมือใหม่ๆ การค้า เน้นการค้าภายในภูมิภาคมากขึ้น การแข่งขันสูงขึ้น ภาคบริการเข้ามามีบทบาทในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจมากขึ้น เน้นท่องเที่ยวและบริการด้านสุขภาพซึ่งไทยมีจุดแข็งหลายด้าน บริการ การผลิตที่เริ่มสูญเสียความสามารถในการแข่งขันจำเป็นต้องย้ายฐานการผลิตไปต่างประเทศมากขึ้น ลงทุนในประเทศเพื่อนบ้านที่มีทรัพยากรอุดมสมบูรณ์และพร้อมเปิดรับการลงทุนจากต่างชาติ FDI ข้อจำกัดในการทำงานของแรงงานต่างชาติมีแนวโน้มผ่อนปรนมากขึ้น เพิ่มพูนทักษะแรงงาน โดยเฉพาะด้านภาษาและการปรับตัวให้เข้ากับมาตรฐานการทำงานที่เป็นสากล แรงงาน การเคลื่อนย้ายเงินทุน เงินทุนเคลื่อนย้ายระหว่างประเทศเข้าออกได้เสรีมากขึ้น ค่าเงินมีแนวโน้มผันผวน ผู้ประกอบการต้องเร่งปรับตัวในการบริหารจัดการด้านต้นทุนและปิดความเสี่ยงด้านอัตราแลกเปลี่ยน 5
เวทีภูมิภาคลุ่มน้ำโขงในบริบทการแข่งขันของมหาอำนาจทางเศรษฐกิจเวทีภูมิภาคลุ่มน้ำโขงในบริบทการแข่งขันของมหาอำนาจทางเศรษฐกิจ กรอบความร่วมมือต่างๆ ในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง • GMS : Greater Mekong Subregion(China) • ACMECS : Ayeyawady-Chao Phraya- Mekong EconomicCooperation Strategy (Thailand) • MJ-CI : Mekong Japan Economic and Industrial Cooperation Initiative (Japan) • US-LMI : U.S.-Lower Mekong Initiative (USA) • KOREA –MEKONG (Korea) • Konga - MEKONG (India) 6
China Look South Policy นครคุณหมิง มณฑลยูนาน นครหนานหนิง มณฑลกวางสี รุ่ยลี่-มูเซ่ ประเทศพม่า เส้นทาง R-3 เชียงของจังหวัดเชียงราย เส้นทางถนน ผิวเสียง/ลังซอน เส้นทางรถไฟเวียงจันทร์/หนองคาย เส้นทางแม้น้ำโขง อ.เชียงแสน เส้นทางถนน มอกไก/หม่าลู่ West Gate Port อ่าวเบงกอล ชิตต์เว/ยะไข่ (ท่าเรือพาณิชย์จ๊อกพยิว) ย่างกุ้ง กรุงเทพ ฮานอย เมียวดี แม่สอด สปป.ลาว แหล่งทรัพยากรธรรมชาติและเกษตร West Gate Port ทะเลอันดามัน ทวาย/ดะเวย์ ระบายสินค้า CLMV เส้นทาง R9 ระบายสินค้า EU/USA กาญจนบุรี โฮจิมินห์ อินเดีย/ตะวันออกกลาง มาเลเซีย สิงคโปร์ พนมเปญ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจ-สังคมของมณฑลยูนาน คศ.2010 -2020 (ฉบับที่ 2)(งบประมาณ 1,116,000 ล้านหยวน) (1) • กำหนดให้นครคุณหมิงเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์นานาชาติเชื่อมโยงเศรษฐกิจภายในกับประเทศอาเซียน • ศูนย์โลจิสติกส์นานาชาติที่นครคุณหมิง,รุ่ยลี่,จิงหง,เหอโข่ว • พัฒนาจุดเชื่อมโยงโลจิสติกส์ในประเทศรอบข้าง • จัดตั้งองค์กรสหภาพด้านโลจิสติกส์ระดับภูมิภาค • ส่งเสริมเส้นทางคมนาคมสีเขียวสู่ตะวันตกเฉียงใต้และเอเซียใต้ • โครงการนิคมโลจิสติกส์นานาชาติ แห่งแคว้นสิบสองปันนารองรับเขตการค้าเสรีจีน-อาเซียน
แผนพัฒนาเศรษฐกิจ-สังคมของมณฑลยูนาน คศ.2010-2020 (ฉบับที่ 2)(งบประมาณ 1,116,000 ล้านหยวน)(ต่อ) • กลยุทธการค้าเชิงรุกระหว่างประเทศเป็นตัวนำโดยใช้เส้นทางคมนาคมทั้งแม่น้ำโขงและทางถนนระหว่างภูมิภาคเป็นตัวเชื่อมโยง • พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ศูนย์ OSS และการกระจายสินค้ามณฑลยูนานเชื่อมต่อกับมหาสมุทรแปซิฟิกและมหาสมุทรอินเดีย • ยุทธศาสตร์เชื่อมต่อการค้า-โลจิสติกส์ จากเขตเศรษฐกิจปากแม่น้ำไข่มุก(Pan Pearl River) เขตเศรษฐกิจสามเหลี่ยมแม่น้ำแยงซี (Pan Yangtze River) เอเชียตะวันออก เอเชียใต้ และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
China Hidden Agenda ไทยเตรียมพร้อมแล้วหรือยัง??? โครงข่ายโลจิสติกส์ของไทย เชื่อมโยงประเทศ ASEAN (China City Complex) ใช้ไทยเป็น Economic Hub ไปประเทศ USA/EU เขตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ASEAN+1 China West Gate Port การใช้โครงข่าย NSEW – Corridor สู่ทะเลฝั่งตะวันตก AEC ASEAN 7 China Market ประชากร 238 ล้านคน 10
ประเทศไทยต้องกำหนดยุทธศาสตร์ที่ชัดเจนประเทศไทยต้องกำหนดยุทธศาสตร์ที่ชัดเจน • ยุทธศาสตร์เชิงพื้นที่ (Area Base) คุณหมิง/หนานหนิง/เวียงจันทร์/R3E/ R9/R12/R13/ทวาย/A1/R1/R2 • ยุทธศาสตร์เชิงผลิตภัณฑ์ (Product/Service Base) ค้าชายแดน/สินค้าบริการ • ยุทธศาสตร์ชายแดน (Border Strategy)อุตสหกรรมชายแดน/เศรษฐกิจพิเศษชายแดน / Contract Framing/ International Logistics Provider Service • ยุทธศาสตร์จังหวัดต้องบูรณาการ และสอดคล้องกับระเบียงเศรษฐกิจNorth – South-East- West Corridor 11
Area Base : ยุทธศาสตร์เชิงพื้นที่ R3E เวียงจันนร์ ร่างกุ้ง R12 R9 ทวาย/มะริด ปอยเปต โฮจิมินห์ แหลมฉบัง เกาะกง สะเดา/ปาดังเบซาร์ ปีนัง 12 ตันจุงปาราปัส สิงคโปร์
ยุทธศาสตร์เศรษฐกิจชายแดนยุทธศาสตร์เศรษฐกิจชายแดน • ยุทธศาสตร์ประเทศไทย...มีหรือยัง??? • Border Trade & Contract Farming , Investment • Regional Logistics Hub • Neighbor Investment (Industrial, Agriculture, Gas Resources) • Border Industrial • Immigrant Labor • Agriculture Investment • Regional Financial & Stock Market • Tourism Hub • Heath/Education/Service Center • Port Link/Land Bridge/ Airport Link/ Rail Link 13
Off Shore Investment • ศักยภาพของอุตสาหกรรมไทย • การสนับสนุนจากภาครัฐ • การสนับสนุนจากภาคการเงิน โอกาส Factory Re-Location 14
Offshore Factory : Opportunityอุตสาหกรรมไทยที่เหมาะสมที่จะเคลื่อนย้ายไปประเทศเพื่อนบ้าน • Industry which use local content material.อุตสาหกรรมที่ใช้วัตถุดิบประเภท Local Content • Textile industry which use a lot of labor content.อุตสาหกรรมสิ่งทอซึ่งใช้แรงงานมาก Labour Content • Spare part industry.อุตสาหกรรมประกอบชิ้นส่วน • Electric and electronic equipment which use the benefit from value chain connection with foreign country.เครื่องใช้ไฟฟ้า และอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งถือเป็นการใช้ประโยชน์การเชื่อมโยง Value Chain กับต่างประเทศ • Household furniture industry which made of natural material.อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับเครื่องเรือน เฟอร์นิเจอร์ที่ใช้วัสดุธรรมชาติ • transformed agricultureindustry อุตสาหกรรมเกษตรแปรรูป 15
ประเทศไทยกับการเตรียมพร้อมประเทศไทยกับการเตรียมพร้อม สภาพเส้นทาง R3E ชายแดนบ่อเต็น-โม่ฮัง พบว่าจีนมีการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานและศูนย์กระจายสินค้ารองรับบริบทอาเซียน-จีน 16
ประเทศไทย...พร้อมแล้วหรือยัง???ประเทศไทย...พร้อมแล้วหรือยัง??? เมื่อพรมแดนเปิดภายใต้ AEC การค้าจะเปลี่ยนจาก Border to Border แต่จะเป็น City to City Local จะลดบทบาท International จะมาแทนที่ Border Trade จะถูกแทนที่ด้วย Global Trade 17
END ข้อมูลเพิ่มเติม : www.tanitsorat.com 18