350 likes | 518 Views
Action on Smoking and heath Foundation/ มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่. สถานการณ์การสูบบุหรี่และการได้รับควันบุหรี่มือสองของคนไทย. ศ.นพ.ประกิต วาทีสาธกกิจ วันที่ 14 สิงหาคม 2555 โรงพยาบาลสระบุรี. จำนวนผู้ใช้ผลิตภัณฑ์ยาสูบ (ล้านคน) ประชากรไทยอายุ 15 ปี+. ผู้ใช้ยาสูบปัจจุบัน ชนิดมีควัน.
E N D
Action on Smoking and heath Foundation/มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ สถานการณ์การสูบบุหรี่และการได้รับควันบุหรี่มือสองของคนไทย ศ.นพ.ประกิต วาทีสาธกกิจ วันที่ 14 สิงหาคม 2555 โรงพยาบาลสระบุรี
จำนวนผู้ใช้ผลิตภัณฑ์ยาสูบ (ล้านคน) ประชากรไทยอายุ 15 ปี+ ผู้ใช้ยาสูบปัจจุบัน ชนิดมีควัน ผู้ใช้ยาสูบปัจจุบัน ชนิดไม่มีควัน หมายเหตุ: ผู้ให้ข้อมูลบางคน ใช้ผลิตภัณฑ์ยาสูบมากกว่า 1 ชนิด
ร้อยละของผู้ใช้ผลิตภัณฑ์ยาสูบปัจจุบัน (ทั้งชนิดมีควันและไม่มีควัน) จำแนกตามเขตการปกครอง ร้อยละ
อัตราส่วนการเลิกยาสูบอัตราส่วนการเลิกยาสูบ ร้อยละ ปชก.รวม ในเขต นอกเขต หมายเหตุ: อัตราส่วนของการเลิกยาสูบ ขนิดมีควัน คือ จำนวนผู้เคยใช้เป็นประจำ หารด้วยจำนวนผู้ที่ปัจจุบัน ทั้งที่ใช้เป็นประจำ และใช้เป็นครั้งคราว
ร้อยละของผู้ใช้ผลิตภัณฑ์ยาสูบ ชนิดมีควัน ที่เคยเลิกยาสูบ ร้อยละ • หมายเหตุ: ผู้ใช้ผลิตภัณฑ์ยาสูบ ชนิดมีควัน ที่คยเลิกยาสุบนี้ หมายถึง ผู้ใช้ผลิตภัณฑ์ยาสูบปัจจุบัน ที่กลับมาสูบซ้ำ และผู้ที่เพิ่งเลิกยาสูบได้ • ภายในช่วง 12 เดือนที่ผ่านมา
ผู้ใช้ผลิตภัณฑ์ยาสูบที่เคยได้รับบริการเลิกยาสูบ 2 As ในช่วง 12 เดือนที่ผ่านมา ร้อยละ • หมายเหตุ: ผู้ใช้ผลิตภัณฑ์ยาสูบ ชนิดมีควัน ที่คยได้รับบริการเลิกยาสูบ 2 As หมายถึง ผู้ใช้ผลิตภัณฑ์ยาสูบปัจจุบัน ที่เคยเลิกแต่กลับมาสูบซ้ำ • และผู้ที่เพิ่งเลิกยาสูบได้ ภายในช่วง 12 เดือนที่ผ่านมา โดยบุคคลเหล่านี้ เคยมาใช้บริการสุขภาพในช่วง 12 เดือนที่ผ่านมา
การได้รับควันบุหรี่มือสอง ที่บ้าน ที่ทำงาน และสถานที่สาธารณะต่างๆ ในช่วง 30 วันก่อนการสัมภาษณ์ ของประชากรนอกเขตเทศบาล ปี 2554 ปี 2552 ร้อยละ
การเสียชีวิตจากโรคไม่ติดต่อ (หลัก) จำนวนผู้เสียชีวิตจากทุกสาเหตุ = 415,900 คน เสียชีวิตจากโรคไม่ติดต่อ (หลัก) = 210,964 คน = 50.7% นั่นคือ ครึ่งหนึ่งของคนไทยเสียชีวิตจากโรคไม่ติดต่อ 5 โรค (โรคมะเร็ง โรคเส้นเลือดสมอง โรคเส้นเลือดหัวใจ โรคเบาหวาน โรคถุงลมพอง) คณะทำงานภาระโรคฯ กสธ. 2554
การเสียชีวิตจากโรคไม่ติดต่อ (หลัก) ของคนไทย พ.ศ.2552 • โรคมะเร็ง = 80,711 คน • โรคเส้นเลือดสมอง = 50,829 คน • โรคเส้นเลือดหัวใจ = 34,384 คน • โรคเบาหวาน = 26,380 คน • ถุงลมโป่งพอง = 18,660 คน รวม = 210,964 คน คณะทำงานภาระโรคฯ กสธ. 2554
การเสียชีวิตจากโรคไม่ติดต่อ (หลัก) ของคนไทย พ.ศ.2552 จำนวนผู้เสียชีวิต = 210,964 เสียชีวิตก่อนอายุ 60 ปี = 56,960 = 27% คณะทำงานภาระโรคฯ กสธ. 2554
4 ปัจจัยเสี่ยง • ยาสูบ • อาหารไม่ถูกสุขลักษณะ • ขาดการออกกำลังกาย • สุรา เป็นสาเหตุของ 4 กลุ่มโรคไม่ติดต่อหลัก • โรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง • โรคมะเร็ง • โรคเบาหวาน • โรคปอดเรื้อรัง ซึ่งเท่ากับ 80%ของโรคไม่ติดต่อทั้งหมด
ปัจจัยเสี่ยงโรคไม่ติดต่อ (หลัก)
จำนวนผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อ (หลัก) • ความดันโลหิตสูง = 10.0 ล้านคน • เบาหวาน = 3.2 ล้านคน • โรคหัวใจ = 690,000 คน • โรคเส้นเลือดสมอง = 730,000 คน • โรคถุงลมพอง = 270,000 คน การสำรวจสุขภาพประชากรไทย ครั้งที่ 4 พ.ศ.2552
อัตราการสูบบุหรี่ในผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อ (%) • การสำรวจสุขภาพประชากรไทย ครั้งที่ 4 พ.ศ.2552
การเสียชีวิตของคนไทยจากโรคที่เกิดจากการสูบบุหรี่ พ.ศ.2552 • โรคมะเร็งปอด = 11,210 คน • โรคมะเร็งอื่น ๆ = 6,831 คน • โรคถุงลมพอง = 11,614 คน • โรคปอดอื่น ๆ = 2,841 คน • โรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง = 10,945 คน • โรคอื่น ๆ = 4,803 คน รวม = 48,244 คน คณะทำงานภาระโรคฯ กสธ. 2554
คนไทย 48,244 คน ที่เสียชีวิตจากโรค ที่เกิดจากการสูบบุหรี่ พ.ศ.2552 • โดยเฉลี่ยแต่ละคนป่วยหนักเป็นเวลา = 2.1 ปี • รวมเวลาที่เจ็บป่วยหนัก = 104,374 ปี • โดยเฉลี่ยอายุสั้นลงคนละ = 12.1 ปี • รวมเวลาของชีวิตที่เสียไป = 587,710 ปี บุหรี่เป็นสาเหตุของการสูญเสียเวลาแห่งชีวิต อันดับที 2 ของคนไทย คณะทำงานภาระโรคฯ กสธ. 2554
ความสูญเสียทางเศรษฐกิจจากโรคเรื้อรัง พ.ศ.2552 โครงการศึกษาภาระโรคและปัจจัยเสี่ยง กระทรวงสาธารณสุข 2555
ต้นทุนทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นจากโรคเรื้อรัง 4 โรค ในประเทศไทย พ.ศ.2552 โครงการศึกษาภาระโรคและปัจจัยเสี่ยง กระทรวงสาธารณสุข 2555
โจทย์ จะทำอย่างไรให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่ติดตามรักษากับเรา เลิกสูบบุหรี่
ทำไมจึงต้องรณรงค์ให้คนไทยไม่สูบบุหรี่ในบ้านทำไมจึงต้องรณรงค์ให้คนไทยไม่สูบบุหรี่ในบ้าน
ควันบุหรี่ มีสารเคมีมากกว่า 7,000 ชนิด มีสารพิษมากกว่า 250 ชนิด มีสารก่อมะเร็งมากกว่า 70 ชนิด การได้รับควันบุหรี่ที่ผู้อื่นสูบในคนที่ไม่สูบบุหรี่ทำให้เกิดโรคร้ายแรงได้ ควันบุหรี่เป็นมลพิษทางอากาศที่อันตรายที่สุดในบ้าน
ในปี พ.ศ.2547 ข้อมูลจาก 192 ประเทศ มีผู้ไม่สูบบุหรี่ที่เสียชีวิตจากการได้รับควันบุหรี่ที่ผู้อื่นสูบ = 603,000 คน เป็นผู้ชาย = 150,750 คน (25%) เป็นผู้หญิง = 283,410 คน (47%) เป็นเด็ก (อายุต่ำกว่า 5 ขวบ) = 165,000 คน (28%) ส่วนใหญ่เป็นการได้รับควันบุหรี่ในบ้าน โดยเฉพาะเด็กและผู้หญิง
การเสียชีวิตจากควันบุหรี่มือสองการเสียชีวิตจากควันบุหรี่มือสอง ใน 192 ประเทศ พ.ศ.2547 The Lancet 377, 2011
หลักฐานที่แสดงว่าเด็ก ๆ จะได้รับสารพิษหากมีการสูบบุหรี่ในบ้าน “การตรวจปัสสาวะเด็กอายุหนึ่งขวบ 531 คน ใน 5 จังหวัดภาคใต้ที่มีสมาชิกในบ้านสูบบุหรี่ พบว่าเด็กหนึ่งขวบ 295 คนหรือ 55.5% สามารถตรวจพบสารโคตินินในปัสสาวะ” พญ.วนพร อนันตเสรี พ.ศ.2550
ผู้สูบบุหรี่ไทยที่เคยสูบบุหรี่ในบ้านผู้สูบบุหรี่ไทยที่เคยสูบบุหรี่ในบ้าน สำนักงานสถิติแห่งชาติ พ.ศ.2552
การสำรวจของสำนักงานสถิติแห่งชาติ พ.ศ.2549 มีเด็กไทยอายุต่ำกว่า 5 ขวบ 2.28 ล้านคน ที่ได้รับควันบุหรี่มือสองในบ้าน
การสำรวจความคิดเห็นเรื่องการสูบบุหรี่การสำรวจความคิดเห็นเรื่องการสูบบุหรี่ และการรณรงค์ “บ้านปลอดบุหรี่” ของผู้ปกครอง 658 คนที่พาบุตรหลานอายุ 1-4 ขวบ มารับบริการตรวจรักษา ที่สถาบันเด็กแห่งชาติมหาราชินี กุมภาพันธ์ 2551
ร้อยละ 82 ของผู้ปกครองที่สูบบุหรี่มีการสูบบุหรี่ในบ้าน %ของผู้ปกครองที่ทราบว่า ควันบุหรี่มือสอง ทำให้เด็กป่วยด้วยโรคต่อไปนี้ได้ - เป็นหวัดบ่อยขึ้น = 37.0% - เกิดการติดเชื้อทางเดินหายใจ = 51.8% - เกิดหลอมลมอักเสบ = 48.8% - ทำให้หืดจับบ่อยขึ้น = 53.8% - เกิดโรคหูน้ำหนวก = 17.4% -เกิดโรคไหลตาย = 17.0% สำนักวิจัยเอแบคโพลล์ กุมภาพันธ์ 2551
การได้รับควันบุหรี่มือสองของผู้ใหญ่การได้รับควันบุหรี่มือสองของผู้ใหญ่ การสำรวจการสูบบุหรี่ของผู้ใหญ่ พ.ศ.2554
การได้รับควันบุหรี่มือสองในบ้านของผู้ใหญ่อายุ 15 ปีขึ้นไป การสำรวจการสูบบุหรี่ในผู้ใหญ่ พ.ศ.2552 คิดเป็นจำนวนคนที่ได้รับควันบุหรี่มือสองในบ้าน = 13 ล้านคน
ผลเสียของการสูบบุหรี่ในบ้านผลเสียของการสูบบุหรี่ในบ้าน เป็นการทำให้อากาศในบ้านมีสารพิษและสารก่อมะเร็ง คนในบ้านโดยเฉพาะเด็กได้รับอันตรายจากควันบุหรี่ มือสอง เป็นแบบอย่างที่ไม่ดี เป็นการสอนลูกให้สูบบุหรี่ ทำให้คนสูบบุหรี่เลิกสูบยากขึ้น
อัตราการสูบบุหรี่อายุ >15 ปี ชายอายุ 25-44 ปี = 50.4% การสำรวจการสูบบุหรี่ระดับโลก
โจทย์คือ จะทำอย่างไรให้พ่อเลิกสูบ หรืออย่างน้อยไม่สูบบุหรี่ในบ้าน ในแต่ละปีมีเด็กไทยคลอด = 600,000 – 700,000 คน ชายไทยอายุ 25-44 ปี ร้อยละ 50.4 สูบบุหรี่ (พ.ศ.2554) ดังนั้น เด็กไทยที่คลอดในแต่ละปี จะมีพ่อที่เป็นคนสูบบุหรี่ = 300,000 – 350,000 คน