1 / 20

การเขียน & การบริหารโครงการ

การเขียน & การบริหารโครงการ. สุภาพ ไชยนิตย์ หัวหน้ากลุ่มงานติดตามละประเมินผล สำนักยุทธศาสตร์. Outline. การเขียนโครงการ. การรายงานผล. ความหมาย วัตถุประสงค์ องค์ประกอบ/ขั้นตอน วิธีการคิดค่าเป้าหมาย ประเด็นสำคัญ ความเข้าใจที่คลาดเคลื่อน. การรายงานผลการดำเนินงาน

cheryl
Download Presentation

การเขียน & การบริหารโครงการ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การเขียน & การบริหารโครงการ สุภาพ ไชยนิตย์ หัวหน้ากลุ่มงานติดตามละประเมินผล สำนักยุทธศาสตร์

  2. Outline การเขียนโครงการ การรายงานผล • ความหมาย • วัตถุประสงค์ • องค์ประกอบ/ขั้นตอน • วิธีการคิดค่าเป้าหมาย • ประเด็นสำคัญ • ความเข้าใจที่คลาดเคลื่อน • การรายงานผลการดำเนินงาน • การรายงานผลการใช้จ่าย

  3. ความหมาย • โครงการหมายถึง • การวางแผนล่วงหน้าที่จัดทำขึ้นอย่างมีระบบ • ประกอบด้วยกิจกรรมย่อยหลายกิจกรรม • ต้องใช้ทรัพยากรในการดำเนินงาน • มีเป้าหมายเพื่อการผลิตหรือการให้บริการเพื่อเพิ่มพูนสมรรถภาพของแผนงาน • คาดหวังที่จะได้ผลตอบแทนอย่างคุ้มค่า • การเขียนโครงการเป็นส่วนสำคัญส่วนหนึ่งของการวางแผนที่จะทำให้องค์กร • บรรลุผลสำเร็จตามเป้าหมาย

  4. 1 5 WHY หมายถึง คำถามที่เกี่ยวกับ “จะทำโครงการนี้ไปทำไม” WHO หมายถึง คำถาม “ใครเป็นผู้ดำเนินโครงการ” 2 6 TO WHOM หมายถึง คำถาม “ใครเป็นผู้ได้รับประโยชน์” WHAT หมายถึง คำถาม “จะทำอะไรบ้าง” 3 WHEN หมายถึง คำถาม “จะทำเมื่อไหร่” 4 7 WHERE หมายถึง คำถาม “จะดำเนินโครงการที่ไหน” HOW หมายถึง คำถาม “จะดำเนินโครงการอย่างไร” 6 W & 1 H วัตถุประสงค์ Company Logo

  5. รูปแบบ & แบบฟอร์ม จำนวน 16 หัวข้อ 1. ชื่อโครงการ • ชัดเจน เฉพาะเจาะจง • ที่สื่อถึงความคาดหวัง/ทิศทางของการดำเนินงาน • สื่อให้ทราบว่า ใคร ทำอะไร แก่ใคร ที่ไหน อย่างไร • สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของโครงการ • เข้าใจง่ายสำหรับผู้อนุมัติ และผู้นำไปปฏิบัติ รวมถึงผู้ที่ทำหน้าที่ประเมินผล 2. หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ • หน่วยงานหลัก (+ หน่วยงานร่วมมือ) • หน่วยงานสนับสนุน

  6. 3. ผู้รับผิดชอบโครงการ • ภารกิจ/พันธกิจ • ยุทธศาสตร์ • กลยุทธ์/มาตรการ • นโยบาย( กสธ./กรม/หน่วยงาน) สอดคล้องกับ 4. หลักการและเหตุผล 4.1 ทำไมต้องมีโครงการ • เพื่อแก้ปัญหา • ต้องการพัฒนา • นโยบาย • ความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • ผู้อนุมัติเงิน เช่น สปสช. • ผู้ตรวจสอบ/ผู้ประเมินคุณภาพ • หน่วยงานเหนือ

  7. 4. หลักการและเหตุผล 4.2 วิธีการเขียน • เพื่อแก้ปัญหา • สภาพปัญหา :ชัดเจน ตรงประเด็น เช่น • ปัญหาจากโรค/ภาวะสุขภาพโดยมี อัตราป่วย อัตราตาย • ปัญหาการเข้าถึงบริการ คุณภาพบริการ • ความไม่เพียงพอของจำนวน/ ศักยภาพ/คุณภาพ ของบุคลากร/สถานพยาบาล / เครื่องมือ • /อาคาร/สถานที่ • : ควรมีข้อมูลอ้างอิง เช่น จากงานวิจัย สถิติต่าง ๆ ระบบรายงาน ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา • เฉพาะที่เกี่ยวข้อง • อะไรคือปัญหา : ผลกระทบจากการประเมินสถานการณ์/สภาพปัญหา หากไม่จัดทำโครงการ.... • ขนาดของปัญหา : ระดับประเทศ ระดับภาค จังหวัด • : ระดับองค์กร (กระทรวง/กรม) สถานพยาบาล • : ภายในองค์กร

  8. 4. หลักการและเหตุผล 4.2 วิธีการเขียน • เพื่อต้องการพัฒนา • Gap Analysis: หาส่วนต่างของสิ่งที่เป็นอยู่ กับสิ่งที่ต้องการพัฒนา (ความคาดหวังที่ต้องการทำให้ดีกว่าเดิม) • : เปรียบเทียบกับ มาตรฐาน เกณฑ์ เป้าหมาย ข้อมูลพื้นฐาน (Based Line) เฉพาะที่เกี่ยวข้อง • เป็นนโยบาย • นโยบายโดยตรง : มีชื่อโครงการ วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่ (และงบประมาณ) เบื้องต้น • : ตีความนโยบาย • สนับสนุนนโยบาย : วิเคราะห์เจตนารมย์ของนโยบาย • เป็นความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • ประกอบโครงการ : Unit Cost • : ความครอบคลุมบริการนั้นๆ การเข้าถึงบริการ คุณภาพบริการ

  9. 4. หลักการและเหตุผล 4.3 บทสรุปของหลักการและเหตุผล • แล้วจะแก้ปัญหาอย่างไร • แล้วจะพัฒนาอะไร พัฒนาอย่างไร • โดยใช้จุดแข็ง/จุดได้เปรียบของบุคลากร(ในองค์กร / เครือข่าย) • ในการดำเนินงาน/โครงการ ทั้งทางตรงและทางอ้อม

  10. 5. วัตถุประสงค์โครงการ ข้อความ...อย่างไร สิ่งที่ต้องการให้เกิดขึ้น จากการดำเนินงานโครงการ • เราทำ.....ไปเพื่อ • เพื่อ + คำกริยา S M A R TER • S : Specific = เฉพาะเจาะจง • M : Measurable = วัดได้ • A : Ambitious = ท้าทาย • R : Realistic/ = เป็นไปได้ • Result-Focused = เน้นผลลัพธ์ • T : Time Frame = กำหนดระยะเวลา • E : Enjoyable = สนุก(ที่ได้ทำ) • R : Rewarding = มีคุณค่า

  11. สิ่งที่ต้องการให้เกิดขึ้นสิ่งที่ต้องการให้เกิดขึ้น จากการดำเนินงานโครงการ 5. วัตถุประสงค์โครงการ • เพื่อปรับปรุง....ให้สามารถ......... • เพื่อพัฒนา........ให้ได้ตามเกณฑ์..... • เพื่อยกระดับ......ให้มีคุณภาพดีขึ้น • เพื่อแก้ปัญหา.......ลดลง.....(จำนวน/อัตรา/ระดับ )

  12. 6. กลุ่มเป้าหมาย • ที่ชัดเจน : ใครคือ ผู้ที่จะได้รับผลดีจากโครงการนี้ (บุคคล องค์กร) • : จำนวน 7. ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ • Evidence ที่สะท้อนถึงสิ่งที่ …สามารถวัดได้จากอะไร • ระดับผลผลิต (Output) • ระดับผลลัพธ์ (Outcome) • ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ • ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ 8. ค่าเป้าหมาย • สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ • อยู่ในระดับที่สมศักดิ์ศรี

  13. วิธีการคิดเพื่อกำหนดค่าเป้าหมาย(Target)วิธีการคิดเพื่อกำหนดค่าเป้าหมาย(Target) คิดเป็นพิสัย(Range) แต่รายงานเป็นจุด(Point) Ideal *: จุดสูงสุดที่คาดว่าจะบรรลุได้ Most Likely : จุดที่เรามั่นใจว่าจะบรรลุได้ไม่น้อยกว่า 90 % (Based-line / ที่คนอื่นเขาทำได้) Least Acceptable : จุดต่ำสุดที่ยอมรับได้(ไม่ให้น่าเกลียด) * Norm ของสังคมกำหนดว่าจุดที่ดีที่สุด คืออะไร

  14. 9. สถานที่ดำเนินการ • ระบุสถานที่ดำเนินการโครงการระบุพื้นที่ โดยระบุโรงพยาบาล(กรมการแพทย์ /รพศ./รพท./รพช./รพสต. • หมู่บ้าน ตำบล อำเภอ จังหวัด 10. ระยะเวลาดำเนินการโครงการ • ระบุเวลาที่ชัดเจน (Point) ในแต่ละกิจกรรม : Gantt chart 11. วิธีดำเนินการ • แสดงถึงกิจกรรม • กระบวนการปฏิบัติงาน • อาจจะระบุระเวลาในแต่ละกิจกรรม (กิจกรรม ที่เรียงลำดับขั้นตอน /กิจกรรมที่ดำเนินการสะสม)

  15. 12. ปัจจัยแห่งความสำเร็จ • โครงการตรงตามความต้องการของ Stakeholder • ได้รับความร่วมมือจากผู้ที่เกี่ยวข้อง / Stakeholder • ฤดูกาลที่ไม่เป็นข้อจำกัด 13. งบประมาณ • ระบุแหล่งงบประมาณ (เงินงบประมาณ / เงินนอกงบประมาณ / เงินบริจาค ฯลฯ) • ยอดรวมของงบประมาณ ทั้งโครงการ • รายละเอียดงบประมาณ • รายกิจกรรม • หมวด/ประเภทเงิน

  16. 14. ผลที่คาดว่าจะได้รับ • เป็นผลที่เกิดขึ้นจากการที่โครงการบรรลุวัตถุประสงค์ (ปริมาณ /คุณภาพ) ต่อ Stakeholder /สังคมโดยรวม • ผลทางตรง / ผลทางอ้อม • ผลกระทบ (เชิงบวก / เชิงลบ) 15. ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะ จากการจัดโครงการที่ผ่านมา 16. การประเมินโครงการ • กำกับ ติดตาม (Monitoring) : ความก้าวหน้า /แนวโน้ม(สำเร็จ/ไม่สำเร็จ) • ประเมินผล (Evaluation) : ตามตัวชี้วัดโครงการ และอาจเพิ่มเติมข้อมูลเชิงคุณภาพอื่น ๆ • (Performance Learning) • รายงานผล

  17. 17. ตารางแผนภูมิการปฏิบัติงาน (Gantt chart)

  18. ปัญหาที่พบบ่อย & ความเข้าที่ไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการจัดทำโครงการ • โครงการที่กำหนดขึ้นมาไม่ได้แสดงถึงปัญหาที่ต้องการจะแก้ไขอย่างแท้จริง เพราะไม่มีการ • วิเคราะห์ปัญหาและความต้องการอย่างที่แท้จริง • การให้ความสำคัญกับงบประมาณที่ได้รับการจัดสรร จึงคิดหาทางใช้งบประมาณให้หมดเท่านั้น • การกำหนดวัตถุประสงค์ ของโครงการที่มีหลายข้อเกินไป • ปัญหาความสับสนระหว่างวัตถุประสงค์ และกิจกรรมของโครงการ • กิจกรรมของโครงการ คือวิธีดำเนินงาน หรือขั้นตอนการดำเนินงาน

  19. การรายงานผลความก้าวหน้าโครงการการรายงานผลความก้าวหน้าโครงการ ผลการดำเนินงาน เพิ่มเติม กรณีงานวิจัย 1). ความก้าวหน้า/ความสำเร็จ 2). ผลสำเร็จตามตัวชี้วัด 3). ระบุประเภทกลุ่มเป้าหมาย 4). ระบุพื้นที่ดำเนินการ 5). ปัจจัยความสำเร็จของโครงการ 6). ปัญหา/อุปสรรค 7). ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข 8). แผนการดำเนินงานขั้นตอนต่อไป 1). การเผยแพร่ผลงานวิจัย 2). การนำไปกำหนด นโยบาย ระบุ ประเด็น & ระดับนโยบาย ผลการใช้จ่ายเงิน 1). ระบุประเภท งปม. 2). ระบุแหล่ง งปม. เพิ่มเติม กรณีพัฒนาเครือข่าย 1). เกณฑ์การคัดเลือกพื้นที่ 2). เหตุผลในการพัฒนาเครือข่าย ความถูกต้อง ครบถ้วน ทันเวลา

  20. Q & A

More Related