430 likes | 867 Views
การบังคับคดีแพ่ง. อรัญญา ทองน้ำตะโก ผู้อำนวยการกองอายัดทรัพย์สิน กรมบังคับคดี. การบังคับคดีแพ่ง. การยึดทรัพย์สิน. การขายทอดตลาดทรัพย์สิน. การอายัดทรัพย์ สิน. การขับไล่,รื้อถอน. คำพิพากษา. คำบังคับ. หมายบังคับคดี. กรมบังคับคดี สนง. บังคับคดี. เจ้าหนี้ ตั้งเรื่องขอบังคับคดี.
E N D
การบังคับคดีแพ่ง อรัญญา ทองน้ำตะโก ผู้อำนวยการกองอายัดทรัพย์สิน กรมบังคับคดี
การบังคับคดีแพ่ง การยึดทรัพย์สิน การขายทอดตลาดทรัพย์สิน การอายัดทรัพย์สิน การขับไล่,รื้อถอน
คำพิพากษา คำบังคับ หมายบังคับคดี กรมบังคับคดี สนง.บังคับคดี เจ้าหนี้ ตั้งเรื่องขอบังคับคดี
ผู้ที่มีอำนาจในการบังคับคดีผู้ที่มีอำนาจในการบังคับคดี เจ้าพนักงานบังคับคดี
การยึดทรัพย์สิน บังคับกับทรัพย์สินของลูกหนี้ตามคำพิพากษา • สังหาริมทรัพย์ • อสังหาริมทรัพย์
การตั้งเรื่องขอบังคับคดีการตั้งเรื่องขอบังคับคดี การสืบหาทรัพย์สิน เตรียมเอกสารส่งประกอบการยึด อายัด ยื่นคำขอยึด อายัดโดยแสดงรายละเอียดทรัพย์ วางเงินทดรองจ่าย เตรียมพาหนะ นำเจ้าพนักงานไปดำเนินการ
เอกสารประกอบการยึดอสังหาริมทรัพย์เอกสารประกอบการยึดอสังหาริมทรัพย์ เอกสารแสดงกรรมสิทธิ์ พร้อมเอกสารที่เกี่ยวข้อง แผนที่การไปที่ตั้งทรัพย์ที่ยึด ภาพถ่ายปัจจุบันของทรัพย์ที่ยึด สำเนาทะเบียนบ้าน หนังสือรับรองนิติบุคคลของเจ้าหนี้ ลูกหนี้หรือผู้ถือกรรมสิทธิ์ (รับรองไม่เกิน1เดือน) หนังสือมอบอำนาจ(หากมี)
อำนาจหน้าที่ของเจ้าพนักงานบังคับคดี • เป็นผู้แทนเจ้าหนี้ในการรับชำระหนี้หรือทรัพย์สิน ที่ลูกหนี้นำมาวาง (ม.278) • ยึด อายัด ยึดถือทรัพย์สินของลูกหนี้ และนำทรัพย์ ออกขายทอดตลาด(ม.278)
อำนาจหน้าที่ของเจ้าพนักงานบังคับคดี (ต่อ) • ดำเนินวิธีการบังคับทั่ว ๆ ไปตามที่ศาลกำหนดไว้ใน หมายบังคับคดี ( ม.278) • ดำเนินการบังคับคดีในระหว่างพระอาทิตย์ขึ้นและตกในวันทำการงานปกติเว้นแต่ เหตุฉุกเฉินโดยได้รับอนุญาตจากศาล (ม.279)
อำนาจหน้าที่ของเจ้าพนักงานบังคับคดี (ต่อ) • ค้นสถานที่ใดๆของลูกหนี้หรือที่ลูกหนี้ปกครองอยู่ เท่าที่จำเป็น (ม.279) • กระทำการใดๆตามสมควรเพื่อเปิดสถานที่หรือบ้าน ที่อยู่ หรือโรงเรือนดังกล่าว (ม.279) • มีผู้ขัดขวางให้ขอความช่วยเหลือจากเจ้าหน้าที่ตำรวจเพื่อดำเนินการบังคับคดีจนได้ (ม.279)
สิทธิและหน้าที่ของลูกหนี้สิทธิและหน้าที่ของลูกหนี้ • อยู่และดูแลในเวลาที่เจ้าพนักงานยึดทรัพย์ ไม่ป้องกันหรือขัดขวางการบังคับคดี (ม.281) • ดูแลรักษาทรัพย์ที่ยึด โดยความยินยอมของเจ้าหนี้และใช้ทรัพย์สินนั้นได้ตามสมควร (ม.305)
ทรัพย์สินที่ยึดไม่ได้ทรัพย์สินที่ยึดไม่ได้ • เครื่องนุ่งห่มหลับนอน เครื่องใช้ในครัวเรือน เครื่องใช้สอยส่วนตัว ประมาณรวมกันราคาไม่เกิน 50,000บาท • เครื่องมือ เครื่องใช้ ที่จำเป็นในการเลี้ยงชีพหรือประกอบวิชาชีพ ประมาณรวมกันราคาไม่เกิน 100,000บาท • ทรัพย์สินที่โอนไม่ได้ตามกฎหมาย (ม. 285 แก้ไข พ.ศ. 2548)
ระยะเวลาในการบังคับคดีระยะเวลาในการบังคับคดี ภายใน 10 ปี นับแต่วันมีคำพิพากษาหรือคำสั่ง (ม.275)
เมื่อเแจ้งการยึดไปยังลูกหนี้และผู้มีส่วนได้เสียแล้วเจ้าพนักงานจะดำเนินการเมื่อเแจ้งการยึดไปยังลูกหนี้และผู้มีส่วนได้เสียแล้วเจ้าพนักงานจะดำเนินการ รายงานศาลขอขายทอดตลาดทรัพย์
การจำหน่ายทรัพย์สิน ขายทอดตลาดเมื่อศาลมีคำสั่งอนุญาต เว้นแต่ สภาพทรัพย์เป็นของสดของเสียได้ซึ่งจะขาย ได้ทันทีโดยวิธีขายทอดตลาดหรือวิธีอื่นที่เห็นสมควร
ขั้นตอนการประกาศขายทอดตลาดขั้นตอนการประกาศขายทอดตลาด • จัดทำประกาศขาย ระบุรายละเอียดทรัพย์ ราคาประเมิน วัน เวลา สถานที่ขาย พร้อมข้อสังเกต คำเตือน เงื่อนไข • ส่งประกาศขายให้ผู้มีส่วนได้เสีย • ปิดประกาศขายไว้โดยเปิดเผย
ขั้นตอนการขายทอดตลาด • ไม่มีผู้เสนอราคา งดขาย • มีผู้เสนอราคาสูงสุดและเป็นราคาที่สมควรขาย ไม่มีผู้คัดค้านราคา เคาะไม้ขาย • มีผู้คัดค้านราคา เลื่อนการขายไปนัดหน้า ผู้เสนอราคาสูงสุดผูกพันกับการเสนอราคา 30 วัน • กำหนดขายนัดต่อไป เคาะไม้ขายให้แก่ผู้เสนอราคาสูงสุด ( ม. 309 ทวิ แก้ไข พ.ศ.2547)
การชำระราคาค่าซื้อทรัพย์การชำระราคาค่าซื้อทรัพย์ ชำระเงินสดทันที สังหาริมทรัพย์ เงินที่วางเป็นหลักประกันเป็นเงินมัดจำ เงินที่เหลือชำระภายใน 15 วัน มีเหตุจำเป็นขอขยายเวลาวางเงินได้ 3 เดือน อสังหาริมทรัพย์
การขอให้ศาลเพิกถอนการขายทอดตลาดการขอให้ศาลเพิกถอนการขายทอดตลาด • ราคาขาย ต่ำเกินสมควร • ราคาต่ำเกิดจากการคบคิดกันฉ้อฉลระหว่างผู้เกี่ยวข้องในการเข้าสู้ราคาหรือความไม่สุจริตหรือประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรงของเจ้าพนักงาน • ร้องขอภายใน 15 วัน นับแต่วันขายทอดตลาด * คำสั่งของศาลเป็นที่สุด *( ม.309 ทวิ ว.2 ประกอบ ม.296)
ซื้อทรัพย์ได้แล้วเจ้าของเดิมไม่ยอมออกไปซื้อทรัพย์ได้แล้วเจ้าของเดิมไม่ยอมออกไป ขอศาลออกคำบังคับให้เจ้าของเดิม บริวารออกไปจากทรัพย์ที่ซื้อภายในเวลาที่ศาลกำหนด ไม่น้อยกว่า 30 วัน
การอายัดทรัพย์สิน • บังคับกับสิทธิเรียกร้องของลูกหนี้ที่มีต่อบุคคลภายนอก • สั่งบุคคลภายนอกมิให้ชำระหนี้ให้แก่ลูกหนี้แต่ให้ชำระแก่ เจ้าพนักงานบังคับคดีแทน (ม.311) • สั่งห้ามลูกหนี้จำหน่าย หรือโอนสิทธิเรียกร้องนั้น (ม.311)
สิทธิเรียกร้องที่อายัดได้สิทธิเรียกร้องที่อายัดได้ • เงินเดือน ค่าจ้าง เบี้ยขยัน ค่าล่วงเวลา • โบนัส • เงินตอบแทนกรณีออกจากงาน • เงินฝากในบัญชีธนาคาร สถาบันการเงิน • เงินปันผล • ค่าเช่าบ้าน ค่าเช่าทรัพย์สิน ฯลฯ
สิทธิเรียกร้องที่อายัดไม่ได้สิทธิเรียกร้องที่อายัดไม่ได้ • เงินเดือน ค่าจ้าง บำนาญ บำเหน็จ เบี้ยหวัด หรือรายได้อื่นในลักษณะเดียวกันของข้าราชการ หรือลูกจ้างของรัฐบาล เว้นแต่กรณีที่กฎหมายบัญญัติไว้เป็นการเฉพาะ • เงินเดือน ค่าจ้าง บำนาญ ค่าชดใช้ เงินสงเคราะห์ หรือรายได้อื่นในลักษณะเดียวกันของพนักงาน ลูกจ้าง คนงานที่นายจ้างจ่ายให้รวมกัน ไม่เกินเดือนละ 10,000 บาท หรือตามจำนวนที่ศาลเห็นสมควร • เงินกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ ( กบข ) • เงินกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ฯลฯ
เอกสารประกอบการอายัด • สำเนาทะเบียนบ้าน / สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน / สำเนาหนังสือรับรองนิติบุคคลของเจ้าหนี้ • หนังสือมอบอำนาจ • หลักฐานแห่งสิทธิเรียกร้อง • สำเนาทะเบียนบ้าน / สำเนาหนังสือรับรองนิติบุคคลของลูกหนี้และผู้รับคำสั่งอายัด (รับรองไม่เกิน 1 เดือน)
การพิจารณาลดอายัดเงินเดือน ค่าจ้าง • ลูกหนี้ขอลดการอายัด ส่งหนังสือรับรองเงินเดือน หลักฐานความจำเป็น • เจ้าพนักงานพิจารณาลดอายัดเงินได้ไม่ เกินกึ่งหนึ่ง • เจ้าหนี้ / ลูกหนี้ไม่เห็นชอบ ให้ร้องต่อศาลเพื่อกำหนดจำนวนเงินที่อายัดใหม่
บุคคลภายนอกไม่ส่งเงินตามอายัดบุคคลภายนอกไม่ส่งเงินตามอายัด ออกหนังสือแจ้งเตือน รายงานศาลเรียกบุคคลภายนอกไปไต่สวน ขอออกหมายบังคับคดีแก่บุคคลภายนอกเสมือน เป็นลูกหนี้ตามคำพิพากษา (ม. 312 วรรค 2)
การจ่ายเงินให้เจ้าหนี้การจ่ายเงินให้เจ้าหนี้ พ้นระยะเวลาร้องขอเฉลี่ย 14 วัน เจ้าหนี้ ลูกหนี้ไม่ถูกพิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาด ไม่มีเหตุขัดข้องอื่น(คำสั่งศาล)
ติดต่อวิทยากร อรัญญา ทองน้ำตะโก ผู้อำนวยการกองอายัดทรัพย์สินโทร 0 2424 4088, 084 7001627 กรมบังคับคดี : www.led.go.th 17 ก.ค. 55