350 likes | 480 Views
การปรับตัวของธุรกิจในภาวะเศรษฐกิจปัจจุบัน. โดยธนิต โสรัตน์ ประธานกรรมการ V-SERVE GROUP รองเลขาธิการ สายงานเศรษฐกิจ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย. 17-2008. เศรษฐกิจไทยกำลังเผชิญอะไรอยู่.
E N D
การปรับตัวของธุรกิจในภาวะเศรษฐกิจปัจจุบันการปรับตัวของธุรกิจในภาวะเศรษฐกิจปัจจุบัน โดยธนิต โสรัตน์ ประธานกรรมการ V-SERVE GROUP รองเลขาธิการ สายงานเศรษฐกิจ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย 17-2008
เศรษฐกิจไทยกำลังเผชิญอะไรอยู่เศรษฐกิจไทยกำลังเผชิญอะไรอยู่ • การชะลอตัวของเศรษฐกิจโลก จากปัญหาสินเชื่อด้อยคุณภาพในสหรัฐ คาดว่าจะส่งผลกระทบต่อเนื่องถึงการส่งออกของไทยในปีนี้ชะลอตัวลง ทั้งผลกระทบทางตรงต่อการส่งออกไปยังตลาดสหรัฐ และผลกระทบทางอ้อม โดยคาดว่าอัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจโลกในปีนี้จะขยายตัว 3.5-4.0% • ผลปัจจัยราคาน้ำมันที่ชะลอตัวในอัตราที่สูง “Triple Digit” ราคาสินค้าโภคภัณฑ์ก็เพิ่มขึ้นสูงตามราคาน้ำมันและการก่อนค่าของเงินดอลล่าร์ • อัตราเงินเฟ้อ ในประเทศมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง จาก 4.3% ในเดือนมกราคม และ 5.4% ในเดือนกุมภาพันธ์ • ปัจจัยเสี่ยงทางการเมือง และความสามารถของรัฐบาลในการแก้ปัญหา
ขีดความสามารถที่ลดลงจากปัจจัยภายนอกGlobal Push Effect • เศรษฐกิจโลกถดถอยโดยเฉพาะจากประเทศคู่ค้าสำคัญ • ราคาน้ำมันที่มีแนวโน้มปรับตัวสูงขึ้น • การถูกประเทศอุตสาหกรรมเกิดใหม่ โดยเฉพาะจีน , เวียดนาม / อินเดีย ซึ่งผลิตสินค้าระดับเดียวกับไทยเข้ามาแย่งส่วนแบ่งการตลาดทั้งภายในและภายนอกประเทศ • การเปิดการค้าเสรีทั้งจาก WTO และ FTA ส่งผลกระทบต่อผู้ประกอบการ ซึ่งไม่สามารถแข่งขันกับสินค้าและผู้ประกอบการจากต่างประเทศ ซึ่งมีความพร้อมกว่า ทั้งด้านราคา , เทคโนโลยีและทุน • การกีดกันจากประเทศคู่ค้าในรูปแบบต่างๆ เช่น AD ,NTB , สิ่งแวดล้อม TANIT SORAT
ผลกระทบต่อประชาชนและธุรกิจไทยผลกระทบต่อประชาชนและธุรกิจไทย • หากเศรษฐกิจโลกขยายตัวลดลง 1% จะทำให้เศรษฐกิจไทยขยายตัวได้น้อยลงประมาณ 0.6-1% โดยมีผลกระทบผ่านทางการส่งออกและต่อเนื่องไปยังการลงทุนภาคเอกชนและการใช้จ่ายครัวเรือน • ผลกระทบต่อผู้ส่งออก จะเป็นทั้งปริมาณการส่งออกที่จะขยายตัวน้อยลง และมีการแข่งขันด้านราคาที่รุนแรงขึ้นในภาวะที่ความต้องการในตลาดโลกชะลอตัว รายได้ของผู้ส่งออกในรูปเงินบาทยังจะได้รับผลกระทบจากการที่ค่าเงินบาทยังมีแนวโน้มแข็งขึ้นอีกด้วย • ราคาสินค้าโภคภัณฑ์ต่างๆที่เพิ่มขึ้น ได้สร้างแรงกดดันต่อภาวะเงินเฟ้อมากขึ้น จึงกังวลว่าภาวะเงินเฟ้อจะเป็นอุปสรรคต่อการฟื้นตัวของการใช้จ่ายครัวเรือน และส่งผลกระทบการลงทุนและต่อเศรษฐกิจโดยรวม รวมทั้ง คุณภาพชีวิตของประชาชน
ผลกระทบต่อประชาชนและธุรกิจไทยผลกระทบต่อประชาชนและธุรกิจไทย • รายได้สุทธิของประชาชนลดลง กลุ่มครัวเรือนที่มีหนี้สินอยู่แล้ว โดยคาดว่าอัตราเงินเฟ้อเฉลี่ยทั้งปี 2551 จะอยู่ในช่วง 3.5-4.5% ราคาสินค้าที่เพิ่มขึ้น เป็นผลดีต่อรายได้เกษตรกร • ภาระต่อผู้บริโภคจากค่าครองชีพที่เพิ่มขึ้น และเพิ่มภาระต้นทุนการผลิตต่อเกษตรกรเอง ราคาสินค้าเกษตร ทองคำ และราคาน้ำมันขายปลีก • ด้านอุปสงค์ภายนอกประเทศสุทธิมีแนวโน้มชะลอลง โดยการส่งออกสินค้าและบริการขยายตัวลดลงมาอยู่ที่ 6.9% ต่อปี เพราะเศรษฐกิจโลกเผชิญความเสี่ยงจากการชะลอตัวของเศรษฐกิจสหรัฐ โดยที่ประเมินเศรษฐกิจประเทศคู่ค้าขยายตัวลดลงมาอยู่ที่ 4.4% ต่อปี
ผลกระทบทางเศรษฐกิจที่มีผลต่อประชาชนผลกระทบทางเศรษฐกิจที่มีผลต่อประชาชน รายจ่ายของประชาชนในกลุ่มที่มีรายได้ครัวเรือนต่ำกว่าเดือนละ 15,000 บาท เพิ่มขึ้น 440-580 บาทต่อเดือน คิดเป็น 4.0-4.5% ของรายได้ สำหรับกลุ่มผู้บริโภคที่มีรายได้เดือนละ 15,000-30,000 บาท รายจ่ายเพิ่มขึ้น 800-820 บาทต่อเดือน คิดเป็น 3.1-4.2% ของรายได้
สภาวะเศรษฐกิจไทยในช่วง 2 เดือนแรก มค. กพ. • การบริโภคภาคประชาชน 8.5% 6.0% • ดรรชนีภาคอุตสาหกรรม 13.9% 14.7% • การผลิตภายในประเทศ 7.2% 17.3% • การผลิตเพื่อการส่งออก 26.5% 20.4% • ดรรชนีลงทุนภาคเอกชน 4.7% 5.6% • การขยายตัวส่งออก 33% 16% • ดรรชนีเชื่อมั่นธุรกิจ 45.6% 44.8% • ดรรชนีเชื่อมั่นอนาคต 51.8 51.6
ภาวะเศรษฐกิจภาคใต้ ภาคเกษตร • ผลผลิตพืชหลักเพิ่มขึ้นร้อยละ 8.3 ตามการเพิ่มขึ้นของผลผลิตปาล์มน้ำมันและยางพารา ด้านประมงทะเล อยู่ในภาวะซบเซา เนื่องจากต้นทุนการทำประมงอยู่ในระดับสูงตามราคาน้ำมันที่เพิ่มสูงขึ้น มูลค่าสัตว์น้ำที่นำขึ้นท่าเทียบเรือขององค์การสะพานปลาในภาคใต้ ลดลงร้อยละ 7.9 และ 15.2 • การเพาะเลี้ยงกุ้ง มีปริมาณผลผลิตลดลง เนื่องจากเกษตรกรลดปริมาณการเลี้ยง จากปัจจัยด้านราคาที่ไม่จูงใจ
ภาวะเศรษฐกิจภาคใต้ ภาคอุตสาหกรรม • ดัชนีผลผลิตภาคอุตสาหกรรมลดลงร้อยละ 6.2 • อุตสาหกรรมยางพารามีผลผลิตลดลง เนื่องจากต้นทุนการผลิตที่เพิ่มขึ้นและการแข็งค่าของเงินบาท ปริมาณ ส่งออกยางผ่านด่านศุลกากรในภาคลดลงจากเดือนเดียวกันปีก่อนร้อยละ 12.3 • อุตสาหกรรมสัตว์น้ำแปรรูปและแช่แข็ง และอาหารทะเลบรรจุกระป๋อง ลดลงจากเดือนเดียวกันปีก่อนร้อยละ 25.2 และ 11.3 ตามลำดับ เนื่องจากความต้องการของตลาดต่างประเทศที่ชะลอตัว • ผลผลิตน้ำมันปาล์มดิบมีจำนวน 86,681.3 เมตริกตันเพิ่มขึ้นจากเดือนเดียวกันก่อนร้อยละ 14.6 ตามปริมาณวัตถุดิบที่เข้าโรงงานเพิ่มขึ้น
ภาวะเศรษฐกิจภาคใต้ ภาคท่องเที่ยว • ภาวะท่องเที่ยวขยายตัว โดยมีนักท่องเที่ยวชาวต่างประเทศเดินทางผ่านด่านตรวจคนเข้าเมืองในภาคใต้ เพิ่มขึ้นจากเดือนเดียวกันปีก่อนร้อยละ 8.0 ร้อยละ 69.9 สูงกว่าร้อยละ 59.8 และ 68.8 ในเดือนก่อนและเดือนเดียวกันปีก่อน
ภาวะเศรษฐกิจภาคใต้ ภาคประชาชน • เศรษฐกิจภาคใต้ขยายตัวในอัตราที่ชะลอลง ทั้งทางด้านอุปทานและอุปสงค์ • ด้านอุปทาน ผลผลิตพืชผลเพิ่มขึ้น และการท่องเที่ยวขยายตัวในอัตราที่ชะลอลง ขณะที่การประมงและอุตสาหกรรมลดลงต่อเนื่อง • ด้านอุปสงค์ การอุปโภคบริโภคภาคเอกชนชะลอลงและการลงทุนลดลงต่อเนื่อง ขณะที่การส่งออกและการเบิกจ่ายงบประมาณเร่งตัวขึ้นมาก ส่วนอัตราเงินเฟ้อเร่งตัวขึ้นมาอยู่ที่ร้อยละ 3.9 ทางด้านสินเชื่อและเงินฝากขยายตัว
นโยบายกระตุ้นเศรษฐกิจนโยบายกระตุ้นเศรษฐกิจ • ยกเว้นภาษีบุคคล รายได้ต่ำกว่า 20,000 บาท ไม่ต้องเสีย • นโยบายกองทุนหมู่บ้าน 1,600 พันล้านบาท • นโยบาย SML 18,687 ล้านบาท (78,358 หมู่บ้าน) • พักชำระหนี้ โครงการ 1 336,633 ราย ชดเชยดอกเบี้ย 4,050 ล้านบาท โครงการ 2 1,705,763 ราย ชดเชยดอกเบี้ย 7,650 ล้านบาท • ชำระคืนเงินกู้ ปี 2553 8,100 ล้านบาท • กองทุนใหม่ธนาคารออมสิน 5,000 ล้านบาท • โครงการปล่อยกู้ ธอส. 10,000 ล้านบาท • โครงการปล่อยสินเชื่อ ธกส. / ออมสิน / ธอส. 5.3 แสนล้านบาท
นโยบายกระตุ้นเศรษฐกิจนโยบายกระตุ้นเศรษฐกิจ • ลดหย่อนภาษีรายได้ วิสาหกิจชุมชน 1.2 ล้านแรก = 0% นิติบุคคล 150,000 บาทแรก = 0% ภาษีตลาด MAI 30% = 25% • โครงสร้างพื้นฐาน รถไฟฟ้ามวลชน 6 เส้นทาง = 2.6 แสนล้าน โครงสร้างพื้นฐาน = 5.1 แสนล้าน • งบประมาณติดลบ ปี 2551 = -1.8% ปี 2552 = -2.5%
ผลต่อนโยบายกระตุ้นเศรษฐกิจของรัฐบาลผลต่อนโยบายกระตุ้นเศรษฐกิจของรัฐบาล • มาตรการภาษีมีผลดีต่อจีดีพี 0.2% ขณะที่การเมืองหากเกิดการยุบพรรค จะเป็นฝันร้ายกับระบบเศรษฐกิจไทย ซึ่ง สศค. จะปรับประมาณการเศรษฐกิจไทยอีกครั้งใน 3 เดือนข้างหน้า • บริโภคภาคเอกชนปรับตัวดีขึ้น โดยขยายตัวที่ 4.0% ต่อปี เพราะรายได้ที่แท้จริงของภาคประชาชนมีแนวโน้มสูงขึ้น จากรายได้เกษตรกรที่เพิ่มขึ้นตามราคาสินค้าเกษตรในตลาดโลก • การเพิ่มขึ้นของเงินเดือนข้าราชการและค่าจ้างขั้นต่ำ ขณะที่มาตรการภาษีเพื่อกระตุ้นและฟื้นฟูเศรษฐกิจช่วยเพิ่มรายได้ให้แก่ประชาชน • การลงทุนภาคเอกชนคาดจะเร่งตัวขึ้น จากฐานที่ต่ำมากมาขยายตัวที่ 9.7% ต่อปี โดยได้รับปัจจัยสนับสนุนจากการใช้กำลังการผลิตในปัจจุบันที่อยู่ในระดับสูงจนใกล้เต็มกำลังการผลิต และการส่งเสริมการลงทุน จะจูงใจให้ภาคเอกชนเร่งการลงทุนในปีนี้
ผลต่อนโยบายกระตุ้นเศรษฐกิจของรัฐบาลผลต่อนโยบายกระตุ้นเศรษฐกิจของรัฐบาล • การเร่งเบิกจ่ายงบประมาณของรัฐบาล ภายใต้กรอบนโยบายการคลังที่ขาดดุลที่ 1.8% ของจีดีพีในปีงบประมาณ 2551 และที่ 2.5% ของจีดีพีในปีงบประมาณ 2552 รวมทั้งการเร่งรัดโครงการลงทุนขนาดใหญ่ของภาครัฐ จะช่วยเพิ่มอุปสงค์การใช้จ่ายภายในประเทศ และช่วยจูงใจให้การลงทุนภาคเอกชนปรับตัวดีขึ้นตามไปด้วย • มาตรการประชานิยม ควรมีมาตรการสร้างโอกาสและรายได้อย่างยั่งยืน ได้แก่ การสร้างโอกาสและอาชีพของประชาชนระดับรากหญ้าเพิ่มเพิ่มรายได้การสร้างโอกาสและกระตุ้นเศรษฐกิจ โดยการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน และการเร่งรัดการใช้งบประมาณรัฐบาลเป็นตัวนำ • การลดรายจ่ายควรเป็นมาตรการระยะสั้น ต้องไม่บิดเบือนระบบตลาด ไม่ก่อหนี้ภาครัฐ และเลือกใช้มาตรการที่มีผลต่อผู้เดือดร้อนน หรือกลุ่มสินค้าที่ขึ้นราคาอย่างไม่เป็นธรรม
ทิศทางของเศรษฐกิจไทยจากนี้ไปทิศทางของเศรษฐกิจไทยจากนี้ไป • การส่งออกจะได้รับผลกระทบ จากการส่งออกทางตรงไปสหรัฐฯและส่งออกทางอ้อมผ่านตลาดใหม่ โดยเฉพาะจีน , อินเดีย และอาเซียน การส่งออก อาจขยายตัว 9.5-12.5% • กำลังการผลิตของอุตสาหกรรมโดยรวมอาจลดลงใน Q3ตามการชะลอตัวของการส่งออก • เศรษฐกิจภายในประเทศมีปัจจัยเสี่ยงจากเงินเฟ้อที่จะสูงขึ้น 4.5-5.0% ทำให้การบริโภคตัวชะลอตัว
ทิศทางของเศรษฐกิจไทยจากนี้ไปทิศทางของเศรษฐกิจไทยจากนี้ไป 4. ราคาน้ำมันจะยังคงมีแนวโน้มทรงตัวในอัตราที่สูงขึ้น จากปัจจัย • ปริมาณน้ำมันคงคลังของสหรัฐปรับลดลง 24.24% • ค่าเงินดอลล่าร์มีแนวโน้มอ่อนค่าต่ำสุดในรอบ 13 ปี • จีนและเกาหลีใต้ มีการนำเข้าน้ำมันสูงขึ้น เพื่อบรรเทาปัญหาการขาดแคลนน้ำมัน • ราคาน้ำมันดิบ เฉลี่ย 95-105 USD / บาเรล • ราคาน้ำมันเบนซิน เฉลี่ย 108 USD / บาเรล • ราคาน้ำมันดีเซลเฉลี่ย 125 USD / บาเรล
ผลกระทบจากราคาน้ำมัน 1% ต่อเศรษฐกิจไทย • เงินเฟ้อ +0.028% • ขนส่งขยายตัว -0.107% • เศรษฐกิจขยายตัว -0.020% • การบริโภค -0.035% • การลงทุน -0.029% • การส่งออก -0.069% • ภาคเกษตร -0.056% • ภาคอุตสาหกรรม -0.065%
ปัจจัยแข็งค่าของอัตราแลกเปลี่ยนมกราคม 2549 – มีนาคม 2551 ราคาน้ำมันขึ้น 2.5% ไทยได้รับผลกระทบ 17% การส่งออกขยายตัว 17% (USD) แต่เงินบาทขยาย 6.5% มค. ธค. มค. ธค. มค. มีค. แข็งค่า 10.65% แข็งค่า 5.71 % แข็งค่า 6.75%
ทิศทางของเศรษฐกิจไทยจากนี้ไปทิศทางของเศรษฐกิจไทยจากนี้ไป 5. ปัจจัยตัวแปรทางเศรษฐกิจ • ปัญหาวิกฤติจากการแก้ไขรัฐธรรมนูญ มาตรา 309 เพื่อให้กลุ่ม 111 พ้นผิด • ปัจจัยการเมืองที่ส่งเค้าไม่นิ่ง โดยเฉพาะประเด็นการยุบพรรคส่งผลต่อความเชื่อมั่นการบริโภค และการลงทุน • สัดส่วนการลงทุนของไทยอ่อนแอ โดยมีสัดส่วนต่อ GDP ประมาณ 4-7% • สภาพคล่องที่ลดลงจากปริมาณเงินฝากต่อสินเชื่อ 92.8% จะทำให้ทิศทางดอกเบี้ยจะเป็นขาขึ้น • การเติบโตทางเศรษฐกิจของไทยที่อัตรา 5-5.5% ขึ้นอยู่กับการกระตุ้นเศรษฐกิจภายในที่งบประมาณติดลบปี 2551 = 1.8% และปี 2552 = 2.5%
แนวทางในการรับมือเศรษฐกิจภายใต้เวทีการค้าตลาดโลกที่ผันผวนและชะลอตัวแนวทางในการรับมือเศรษฐกิจภายใต้เวทีการค้าตลาดโลกที่ผันผวนและชะลอตัว • กระจายตลาดสินค้าส่งออก เพื่อที่จะลดสัดส่วนรายได้ในรูปเงินสกุลดอลล่าร์ฯ และหันไปเพิ่มน้ำหนักรายได้ในรูปเงินตราสกุลอื่นๆ • การกระจายความเสี่ยง โดยการนำเข้าวัตถุดิบและการ Outsourcesเป็นการเปลี่ยนวิธีบริหารจัดการภายในโซ่อุปทาน โดยลดการผลิตจากการพึ่งพา Local Content แต่เพียงอย่างเดียว • การซื้ออัตราแลกเปลี่ยนล่วงหน้า (Forward Exchange)เพื่อรอจังหวะช่วงเวลาที่เหมาะสมในการที่จะขายเงินดอลล่าร์ล่วงหน้า • หันมาใช้ระบบ Off-Set Balanceสำหรับค่าสินค้าส่งออก/วัตถุดิบนำเข้า • เจรจาการปรับราคาพร้อมกับการพัฒนาคุณภาพสินค้าให้แตกต่างจากคู่แข่ง โดยการสร้างเอกลักษณ์และตราสินค้าเป็นของตนเอง เน้นการวิจัยและพัฒนา และการออกแบบสินค้าให้ตรงตามความต้องการของผู้บริโภค เพื่อหลีกเลี่ยงการแข่งขันในตลาดล่าง
Awarenessภายใต้การแข่งขันอย่างเสรีการปรับตัวของผู้ประกอบการมีความสำคัญต่อความอยู่รอดของธุรกิจAwarenessภายใต้การแข่งขันอย่างเสรีการปรับตัวของผู้ประกอบการมีความสำคัญต่อความอยู่รอดของธุรกิจ
แนวคิดการปรับตัวของธุรกิจภายใต้การแข่งขันเสรีแนวคิดการปรับตัวของธุรกิจภายใต้การแข่งขันเสรี การตลาดสมัยใหม่ MARKETING NICHE ตำแหน่งธุรกิจที่ชัดเจน Global Market รูปแบบของบริการตามความต้องการของตลาด (Economies of Scope) Value Creation เครือข่ายและมูลค่าเพิ่มที่จะให้ลูกค้า (Network & Value Added Service) NEW BUSINESS CONCEPT การปรับเปลี่ยน กระบวนการคิดใหม่ ความแตกต่าง Global Competitiveness ต้นทุนที่แข่งขันได้ Innovation การพัฒนาระบบการจัดการที่ยั่งยืน การให้ความสำคัญต่อคน (Human Capital) Knowledge Base Sustainable Economy Team การจัดการความเสี่ยง การจัดการความสมดุล
การปรับตัวของธุรกิจในระยะยาวการปรับตัวของธุรกิจในระยะยาว พัฒนาคุณภาพสินค้าให้แตกต่างจากคู่แข่งขัน โดยการสร้างเอกลักษณ์และตราสินค้าเป็นของตนเอง เน้นการวิจัยและพัฒนา และการออกแบบสินค้าให้ตรงตามความต้องการของผู้บริโภค เพื่อหลีกเลี่ยงการแข่งขันในตลาดล่าง ซึ่งเป็นการผลิตโดยใช้แรงงานเป็นหลัก พิจารณาย้ายฐานการผลิตบางส่วนไปยังแหล่งที่มีต้นทุนต่ำกว่า หรือถูกกระทบจากแนวโน้มการอ่อนค่าของเงินดอลล่าร์ได้น้อยกว่า เช่น การย้ายฐานการผลิตสินค้าประเภทที่ใช้แรงงานเป็นหลัก เช่น เสื้อผ้าสำเร็จรูป รองเท้า ฯลฯ ไปยังประเทศเพื่อนบ้าน เช่น ลาว กัมพูชา พม่า และเวียดนาม ดังกรณีของญี่ปุ่นที่ได้ย้ายฐานการผลิตไปยังประเทศต่าง ๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หลังจากที่เงินเยนได้แข็งค่าขึ้นมากหลังจากข้อตกลง Plaza Accord ในปี 1985 ปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตควบคู่ไปกับการพัฒนาระบบโลจิสติกส์ เพื่อเป็นการเพิ่ม Productivity และการนำระบบการจัดการโลจิสติกส์ที่เป็น Best Practice มาใช้ในการลดต้นทุนสินค้าคงคลังและการส่งมอบสินค้า และการเชื่อมโยงภายในอุตสาหกรรมให้เป็นระบบ Supply Chain เพื่อลดต้นทุนการผลิต
การปรับตัวด้วยการพัฒนาโลจิสติกส์ในการลดต้นทุนการบูรณาการในโซ่อุปทานโลจิสติกส์การปรับตัวด้วยการพัฒนาโลจิสติกส์ในการลดต้นทุนการบูรณาการในโซ่อุปทานโลจิสติกส์ Make to Order Production JIT Best Practice JIT Best Practice Suppliers Customers Information Flow Buffer Stockless Buffer Stockless Goods & Material Flow Service Flow TANIT SORAT
Balance costs between transport & inventory การจัดการความสมดุลของต้นทุนสินค้าคงคลังกับค่าขนส่ง Balancing Transport Cost Inventory Cost (41%) (47%)
Back Haul Strategies การบริหารขนส่งเที่ยวเปล่า ขนส่งเที่ยวเต็ม Revenue ขนส่งเที่ยวเปล่า Cost ความสมดุล
Back Hauledge การลดขนส่งเที่ยวเปล่าเพื่อการประหยัดต้นทุนขนส่ง Customers ลูกค้า ส่งสินค้าไป TMS Transportation Management System Shippers ผู้ผลิต Suppliers ซัพพลายเออร์ รับวัตถุดิบกลับ
การสนับสนุนโครงการพัฒนาเศรษฐกิจภาคใต้การสนับสนุนโครงการพัฒนาเศรษฐกิจภาคใต้ Southern Seaboard ขนอม สิชล ทับละมุ กระบี่ สงขลา แนว Landbridge กระบี่ – ขนอม ทับละมุ – สิชล สตูล - สงขลา สตูล แหลมฉบัง East-West Costal Land Bridge นครศรีธรรมราช - แหลมฉบัง - สตูล พัทลุง ธนิต โสรัตน์
อนาคตอุตสาหกรรมส่งออกไทยในเวทีการค้าตลาดโลกอนาคตอุตสาหกรรมส่งออกไทยในเวทีการค้าตลาดโลก TANIT SORAT
การจัดการอุตสาหกรรมภายใต้ความผันผวนของเศรษฐกิจโลกการจัดการอุตสาหกรรมภายใต้ความผันผวนของเศรษฐกิจโลก • NEW BUSINESS CONCEPT การตลาดสมัยใหม่ และตำแหน่งธุรกิจที่ชัดเจน • INNOVATION DESIRE ให้ความสำคัญด้านคุณภาพ รูปลักษณ์และความแตกต่าง • LOGISTICS IMPLEMENTATION ลดต้นทุน เพิ่มขีดความสามารถการแข่งขัน การรับ-ส่ง และกระจายสินค้าอย่างมีประสิทธิผล • SUSTAINABLE ECONOMY ให้เข้าใจระบบการจัดการแบบยั่งยืนอย่างแท้จริง
ทางอยู่รอดของอุตสาหกรรมไทยในบริบทของโลกทางอยู่รอดของอุตสาหกรรมไทยในบริบทของโลก • World Class Competitiveness : ขีดความสามารถในการ แข่งขันระดับสากล • Global Tough : เกาะกระแสโลก • Self Dependent : การพึ่งพาตนเอง • Logistics Change Management : การปรับเปลี่ยนการจัดการ • Risk Management : การสร้างภูมิคุ้มกันความเสี่ยง