490 likes | 617 Views
กระบวนทัศน์การบริหาร องค์กรปกครองท้องถิ่น. นายจารุพงศ์ เรืองสุวรรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย. กระบวนทัศน์การบริหาร องค์กรปกครองท้องถิ่น. 1. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงท้องถิ่น. 2. พัฒนาการเปลี่ยนแปลงของท้องถิ่น. 3. ผลกระทบ. 4. ปรับกระบวนทัศน์การปกครองส่วนท้องถิ่น
E N D
กระบวนทัศน์การบริหารองค์กรปกครองท้องถิ่นกระบวนทัศน์การบริหารองค์กรปกครองท้องถิ่น นายจารุพงศ์ เรืองสุวรรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
กระบวนทัศน์การบริหารองค์กรปกครองท้องถิ่นกระบวนทัศน์การบริหารองค์กรปกครองท้องถิ่น 1. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงท้องถิ่น 2. พัฒนาการเปลี่ยนแปลงของท้องถิ่น 3. ผลกระทบ 4. ปรับกระบวนทัศน์การปกครองส่วนท้องถิ่น - บทบาทผู้นำองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงของท้องถิ่นปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงของท้องถิ่น การเมือง ท้องถิ่น - อบจ. - เทศบาล - อบต. สังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม เทคโนโลยี
พัฒนาการเปลี่ยนแปลงของท้องถิ่นพัฒนาการเปลี่ยนแปลงของท้องถิ่น สังคมชนบท สังคมชนบท กึ่งเมือง สังคมเมือง
ผลกระทบ - เกิดสังคมแห่งการเรียนรู้ - มีการเรียกร้องสูงขึ้น - ครอบครัวเดี่ยว - อาชญกรรมสูงขึ้น ฯลฯ สังคม • - มีรายได้สูงขึ้น • - ค่าครองชีพสูงขึ้น • - โครงสร้างอาชีพเปลี่ยนจากเกษตรกรรม • เป็นพาณิชยกรรมอุตสาหกรรมมากขึ้น • - เกิดความต้องการแรงงาน เศรษฐกิจ
ผลกระทบ การเมือง • - พลังประชาชน - เกิดปัญหาระบบนิเวศน์วิทยา - เกิดมลพิษทั้งเรื่องขยะ และสิ่งปฏิกูล น้ำเน่าเสีย มลพิษ ทางอากาศ ฝุ่นละออง สิ่งแวดล้อม - มีวัฒนธรรมต่างถิ่นเข้ามา ทำให้สูญเสียวัฒนธรรม ดั้งเดิม วัฒนธรรม
บทบาทผู้นำองค์กรปกครองท้องถิ่นบทบาทผู้นำองค์กรปกครองท้องถิ่น • มีวิสัยทัศน์ • ใช้ยุทธศาสตร์นำการพัฒนา • ให้ความสำคัญกับการพัฒนาบุคลากร • มีภาวะผู้นำ สร้างแรงจูงใจ ก่อให้เกิดการมีส่วนร่วมของ • ประชาชนต่อการพัฒนาท้องถิ่น • มีความสามารถในการแสวงหาทรัพยากรเพื่อการพัฒนา • บริหารงานด้วยความโปร่งใส
นโยบายของกระทรวงมหาดไทยนโยบายของกระทรวงมหาดไทย กับ การบริหารราชการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น นายจารุพงศ์ เรืองสุวรรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย วันศุกร์ที่ ๒๘ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๖ ณ สถาบันพัฒนาบุคลากรท้องถิ่น จังหวัดปทุมธานี
แนวทางการบริหารงานของ มท. ในการส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น การสนับสนุนให้ อปท. ปลูกฝังค่านิยมการปกครอง ระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ ทรงเป็นพระประมุข ให้กับประชาชนในท้องถิ่น
แนวทางการบริหารงานของกระทรวงมหาดไทยแนวทางการบริหารงานของกระทรวงมหาดไทย ในการส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น • การบริหารงานตามหลักการ • บริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
แนวทางการบริหารงานของกระทรวงมหาดไทยแนวทางการบริหารงานของกระทรวงมหาดไทย ในการส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น • ผู้บริหารและข้าราชการ อปท. • ต้องทำงานด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต โปร่งใส • ปรับระบบการทำงานให้มีประสิทธิภาพ • มุ่งตอบสนองต่อความต้องการของประชาชน • รับผิดชอบต่อชุมชน • ยึดถือระเบียบและข้อกฎหมายเป็นหลัก
แนวทางการบริหารงานของกระทรวงมหาดไทยแนวทางการบริหารงานของกระทรวงมหาดไทย ในการส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น • การส่งเสริมและสนับสนุน • การมีส่วนร่วมของภาคประชาชน
แนวทางการบริหารงานของกระทรวงมหาดไทยแนวทางการบริหารงานของกระทรวงมหาดไทย ในการส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น ประชาชนในท้องถิ่นต้องสามารถเข้าถึงข้อมูล และมีส่วนร่วมในกระบวนการวางแผนการทำงานการจัดบริการสาธารณะ และการติดตามตรวจสอบการดำเนินงานของท้องถิ่น
แนวทางการบริหารงานของกระทรวงมหาดไทยแนวทางการบริหารงานของกระทรวงมหาดไทย ในการส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น ๔. การสนับสนุนการกระจายอำนาจ สู่ท้องถิ่น
แนวทางการบริหารงานของกระทรวงมหาดไทยแนวทางการบริหารงานของกระทรวงมหาดไทย ในการส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อเพิ่มขีดความสามารถ และความเป็นอิสระของ อปท. ในการพึ่งพาตนเอง ตามความจำเป็นและเหมาะสมตามศักยภาพของ อปท.
แนวทางการบริหารงานของกระทรวงมหาดไทยแนวทางการบริหารงานของกระทรวงมหาดไทย ในการส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น • การส่งเสริมให้ อปท. สนับสนุน • ให้ชุมชน หมู่บ้าน จัดทำแผนชุมชน
แนวทางการบริหารงานของกระทรวงมหาดไทยแนวทางการบริหารงานของกระทรวงมหาดไทย ในการส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น • โดยให้มีความสอดคล้องกับ • ยุทธศาสตร์พัฒนาประเทศ • แผนพัฒนาจังหวัดและ • กลุ่มจังหวัด • เพื่อให้สามารถตอบสนองปัญหาและความต้องการของประชาชน
นโยบายที่สำคัญ ของ กระทรวงมหาดไทย
๑. การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
ยึดหลักผู้เสพคือผู้ป่วยที่ต้องได้รับยึดหลักผู้เสพคือผู้ป่วยที่ต้องได้รับ การบำบัดรักษาให้กลับมา เป็นคนดีของสังคม โดยมีกลไกการติดตามช่วยเหลือ อย่างเป็นระบบ
ในสถานศึกษาสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในสถานศึกษาสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สนับสนุนโครงการ To BeNumberOne
จัดโครงการบำบัดผู้เสพจัดโครงการบำบัดผู้เสพ โดยเฉพาะกลุ่มเด็ก/เยาวชน ให้กลับตัวเป็นคนดีของครอบครัว และเป็นคนดีมีคุณภาพของสังคม ผ่านโครงการ “ชุมชนอุ่นใจได้ลูกหลานกลับคืน”
งบประมาณที่ อปท. ได้รับการจัดสรรในการดำเนินการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
บูรณาการงานกับตำรวจและเสริมสร้างบูรณาการงานกับตำรวจและเสริมสร้าง ความเข้มแข็งของชุมชนให้มีส่วนร่วม
๖.๓ ทุกส่วนราชการทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค จะต้องดำเนินการ และให้การสนับสนุนการดำเนินงานตามคำสั่งนี้อย่างเต็มที่ โดยระดมความร่วมมือในทุก ๆ ด้านจาก อปท. โดยเฉพาะการสนับสนุนงบประมาณเพื่อ การป้องกันยาเสพติด การบำบัดฟื้นฟู และการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้เสพและผู้ติดยาเสพติด อีกส่วนหนึ่งย
๒. การเร่งนำสันติสุขและความปลอดภัยในชีวิต และทรัพย์สินของประชาชนกลับสู่จังหวัด ชายแดนภาคใต้ ๒. การเร่งนำสันติสุขและความปลอดภัยในชีวิต และทรัพย์สินของประชาชนกลับสู่จังหวัด ชายแดนภาคใต้
๓. การยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน
อปท. ต้องให้ความสำคัญในการจ่าย เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ/คนพิการ/ผู้ป่วยเอดส์ อย่าให้มีกรณีการทุจริต หรือเกิดความเดือดร้อนแก่ประชาชน
๔. การส่งเสริมให้ประชาชนเข้าถึงแหล่งเงินทุน
เพื่อให้ประชาชนมีเงินทุนตั้งตัว มีรายได้เพิ่มขึ้น ลดภาระหนี้สินให้พ้นระดับ ความยากจน โดยยึดตำบลเป็นศูนย์ในการรวบรวมแหล่งเงินทุนจากทุกหมู่บ้าน
๕. การพัฒนามาตรฐานผลิตภัณฑ์ OTOP
อปท. มีการจัดทำแผนพัฒนามาตรฐาน ผลิตภัณฑ์ OTOPให้มีคุณภาพ และกำหนดเป้าหมายอย่างชัดเจน มุ่งเน้นการยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ OTOPจากระดับหมู่บ้าน เป็นระดับตำบล ระดับอำเภอ ระดับจังหวัด และไปสู่ระดับสากล
๖. สวัสดิการค่ารักษาพยาบาลของข้าราชการ ๖. สวัสดิการค่ารักษาพยาบาลของข้าราชการ พนักงานส่วนท้องถิ่น และลูกจ้าง อปท.
๗. การปรับปรุงบัญชีอัตราเงินเดือน ของข้าราชการ/พนักงานส่วนท้องถิ่น ๗. การปรับปรุงบัญชีอัตราเงินเดือน ของข้าราชการ/พนักงานส่วนท้องถิ่น
นโยบาย ที่สำคัญ ของรัฐบาล
๑. ร่าง พ.ร.บ.เงินกู้เพื่อลงทุนในโครงสร้าง พื้นฐาน ๒.๒ ล้านล้านบาท
๓. การเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่ ประชาคมอาเซียน ในปี พ.ศ. ๒๕๕๘
๑. การเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับการ เปิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน๒. การประชาสัมพันธ์ จัดสัมมนาให้ความรู้ เกี่ยวกับการเป็นประชาคมอาเซียน๓. การเตรียมความพร้อมในด้านของ ภาษาต่างประเทศ๔. การจัดกิจกรรมเชื่อมความสัมพันธ์๕. การเตรียมตัวรับกระแสการลงทุน
๕. การเพิ่มรายได้ – ลดรายจ่ายของ อปท.
๖. การบูรณาการด้านแผนที่ และการทำ โซนนิ่งสินค้าเกษตร